กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง


“ โครงการการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ ในเดือนรอมฎอน บูเกะลาโม๊ะ ”

ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายบือรารเฮง กาเสาะ

ชื่อโครงการ โครงการการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ ในเดือนรอมฎอน บูเกะลาโม๊ะ

ที่อยู่ ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4166-02-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 เมษายน 2562 ถึง 31 พฤษภาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ ในเดือนรอมฎอน บูเกะลาโม๊ะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ ในเดือนรอมฎอน บูเกะลาโม๊ะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ ในเดือนรอมฎอน บูเกะลาโม๊ะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4166-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 เมษายน 2562 - 31 พฤษภาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพและสาธารณสุขในยุคปัจจุบันนั้น ความเกี่ยวข้องระหว่างศาสนากับสุขภาพเป็นเรื่องสำคัญประการหนึ่งที่มีการกล่าวถึงอยู่ไม่น้อย ดังเช่นศาสนาอิสลาม หากย้อนกลับไปพิจารณาวิถีของอิสลาม ซึ่งเป็นวิถีในการดำเนินชีวิตที่สมบูรณ์และครอบคลุมทุกๆ ด้าน (The way of life) เรื่องสุขภาพและความเจ็บป่วยนั้น อิสลามได้พูดถึงอย่างละเอียดทั้งด้านการส่งเสริม ป้องกัน บำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ เป็นสิ่งที่มุสลิมทุกคนต้องนำมาปฏิบัติเราจะพบว่า วิถีชีวิตประจำวันของผู้นับถือศาสนาอิสลามดำเนินไปตามหลักคำสอนของอิสลามที่ครอบคลุมทุกอย่างเกี่ยวกับชีวิตของมนุษย์ เริ่มตั้งแต่หัวใจ และจิตใจของมนุษย์จนครอบคลุมทุกส่วนของร่างกาย และสภาพแวดล้อมที่มนุษย์ใช้ชีวิตอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกำหนดกรอบความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบระหว่างสุขภาพกับศาสนพิธี หรือ “อิบาดะอ์” เช่น การละหมาด การถือศีลอด การอาบน้ำละหมาด การออกกำลังกาย โภชนาการ การพักผ่อน การป้องกัน การรักษา การปฏิบัติตามคำสอนของอิสลามจึงเป็นการปฏิบัติดีเกี่ยวกับสุขภาพไปพร้อมกันด้วย คำสอนทั่วไปของอิสลามเกี่ยวกับสุขภาพที่มีการปฏิบัติกันในชีวิตประจำวัน ได้แก่ ด้านความสะอาดชาวมุสลิมถือว่าความสะอาดทางจิตใจมีความสำคัญ หมายถึงการตั้งมั่นต่ออัลลอฮแต่เพียงผู้เดียว และยังรวมถึงการขัดเกลาจิตใจให้ปลอดจากความอิจฉาริษยา ส่วนความสะอาดของร่างกายนั้นก็สำคัญไม่น้อยไปกว่า จะพบว่ามีกฎเกณฑ์กำหนดไว้มากมาย เช่น การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย การตัดเล็บ การแปรงฟัน การสวมใส่เสื้อผ้าที่สะอาด ฯลฯ
ด้านโภชนาการเท่าที่พบหลักฐานโภชนาการตามแนวทางของอิสลามนั้น อาหารต้องครอบคลุมถึงอาหารทุกชนิดที่จำเป็นต่อร่างกาย เน้นความสำคัญของ นม น้ำผึ้ง เนื้อ ผลไม้ และผักต่างๆ ให้ความสำคัญเรื่องความสะอาดของอาหาร ไม่รับประทานอย่างฟุ่มเฟือย เป็นต้น ด้านการออกกำลังกาย อิสลามถือว่าการมีร่างกายที่แข็งแรงและสุขภาพดีเป็นความโปรดปรานจากอัลลอฮ การรักษาความแข็งแรงและสุขภาพร่างกายของชาวมุสลิมจึงถือเป็นการตระหนักต่อความโปรดปรานจากอัลลอฮ หรือเป็นการปฏิบัติทางศาสนาด้วยเช่นกัน การป้องกันและบำบัดโรค ในหมู่ชาวมุสลิมให้ความสำคัญและเอาใจใส่ต่อเรื่องความสะอาด การบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ การออกกำลังกายเป็นประจำ และการมีเวลาพักผ่อนที่เพียงพอ ตลอดจนมีวิธีการในการควบคุมโรคติดต่อเพื่อไม่ให้แพร่ระบาดด้วย สำหรับ สุขภาพในศาสนพิธี ของอิสลามนั้น เป็นทั้งกฎเกณฑ์เพื่อฝึกควบคุมร่างกายและส่งเสริมสุขภาพจิตไปพร้อมๆ กัน ในการละหมาด มุสลิมทุกคนจะทำการละหมาดภาคบังคับวันละห้าเวลา ความสะอาดถือเป็นเงื่อนไขสำคัญในการละหมาดแต่ละครั้ง คือต้องสะอาดทั้งสถานที่ เสื้อผ้าที่ใช้ รวมทั้งต้องอยู่ในสภาพที่สะอาดด้วยการอาบน้ำหรืออาบน้ำละหมาด ในการถือศีลอด ทุกๆ ปีมุสลิมจะถือศีลอดหนึ่งเดือน คือเดือนรอมฎอน จะเห็นได้ว่าศาสนาอิสลามให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพ ทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ มัสยิดอันนัสรี บ้านบูเกะลาโม๊ะ จึงขอรับการสนับสนุนงบประมาณ ในการจัดโครงการดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตนให้เป็นไปตามหลักซุนนะฮฺ เช่นการปฏิบัติตน การชำระร่างกายตามหลักซุนนะฮฺ เสริมอีมานเพื่อชำระจิตใจให้บริสุทธิ์
  2. 2.เพื่อส่งเสริมสุขภาพประชาชนและผู้สูงอายุด้วยหลักวิถีอิสลาม
  3. 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนและผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตดีด้วยการอ่าน อัล-กุรอ่าน
  4. 4.เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศีลอดได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ ในเดือนรอมฎอน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถส่งเสริมสุขภาพประชาชนและผู้สูงอายุด้วยหลักวิถีอิสลาม 2.สามารถส่งเสริมให้ประชาชนและผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตดีด้วยการอ่าน อัล-กุรอ่าน 3.สามารถส่งเสริมการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีภายในกลุ่ม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ ในเดือนรอมฎอน

วันที่ 25 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมคณะกรรมการมัสยิด และตัวแทนประชาชนบ้านบูเกะลาโม๊ะ -  เสนอโครงการให้กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.อาซ่อง  พิจารณาและอนุมัติ -  ประชาสัมพันธ์โครงการ -  ประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้อง -  ดำเนินการตามโครงการ -  สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.สามารถส่งเสริมสุขภาพประชาชนและผู้สูงอายุด้วยหลักวิถีอิสลาม 2.สามารถส่งเสริมให้ประชาชนและผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตดีด้วยการอ่าน อัล-กุรอ่าน 3.สามารถส่งเสริมการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีภายในกลุ่ม

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตนให้เป็นไปตามหลักซุนนะฮฺ เช่นการปฏิบัติตน การชำระร่างกายตามหลักซุนนะฮฺ เสริมอีมานเพื่อชำระจิตใจให้บริสุทธิ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมสุขภาพประชาชนและผู้สูงอายุด้วยหลักวิถีอิสลาม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนและผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตดีด้วยการอ่าน อัล-กุรอ่าน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4.เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศีลอดได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตนให้เป็นไปตามหลักซุนนะฮฺ เช่นการปฏิบัติตน การชำระร่างกายตามหลักซุนนะฮฺ เสริมอีมานเพื่อชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ (2) 2.เพื่อส่งเสริมสุขภาพประชาชนและผู้สูงอายุด้วยหลักวิถีอิสลาม (3) 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนและผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตดีด้วยการอ่าน อัล-กุรอ่าน (4) 4.เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยในระหว่างถือศีลอดได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ ในเดือนรอมฎอน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ ในเดือนรอมฎอน บูเกะลาโม๊ะ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4166-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายบือรารเฮง กาเสาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด