กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ ฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสะบัน สำนักพงศ์

ชื่อโครงการ ฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5295-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษา (2) ข้อที่ 2 กลุ่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ (2) 2.กิจกรรมเสริมทักษะกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ....กิจกรรมการการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กสำคัญที่พ่อแม่ผู้ปกครองต้องหมั่นสนใจ ใส่ใจในการดูแล เพื่อให้เป็นกิจวัตร สร้างเป้นนิสัย เพื่อการมีสุขภาพฟันที่ดีต่อไป

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคฟันผุสูงในกลุ่มเด็กเล็กนับเป็นปัญหาที่สำคัญ จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของประชาชนตามกลุ่มอายุในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งดินลุ่ม ประจำปี 2561  พบว่าในกลุ่มเด็กอายุ 3 ปี ร้อยละของเด็กฟันผุ เท่ากับ 59.10 ซึ่งนับว่าสูงมากเมื่อเทียบกับระดับประเทศ(ร้อยละ 48.2) และระดับจังหวัด (ร้อยละ 60.79) ในกลุ่มเด็กอายุ 12 ปี ในเขต มีร้อยละของเด็กฟันผุ เท่ากับ 41.33 เทียบกับระดับประเทศ (ร้อยละ 64.25) และระดับจังหวัด (ร้อยละ 54.06) ซึ่งสะท้อนว่า การดำเนินงานโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนที่ผ่านมา ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การให้ทันตสุขศึกษาแก่หญิงมีครรภ์ที่มาฝากครรภ์ การให้ทันตสุขศึกษาแก่มารดาหรือผู้ปกครองที่พาเด็กมารับวัคซีนในคลินิกเด็กดี การตรวจฟันเด็ก รวมถึงการมอบแปรงสีฟันอันดับแรกของหนูแก่เด็กที่มารับวัคซีนนั้นไม่เพียงพอในการแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากเด็กเล็กหรือเด็กวัยเรียนได้ แสดงว่าการทำงานแบบตั้งรับของทันตบุคลากร การป้องกันโรคที่มีรูปแบบตายตัวและเหมือนๆ กันในทุกพื้นที่ไม่สามารถเข้าถึง และไม่สอดคล้องกับการดำรงชีวิตของประชาชน ทำให้ประสิทธิผลของโครงการที่ได้ค่อนข้างต่ำ ดังนั้น การสร้างเสริมสุขภาพช่องปากควรให้ความสำคัญกับโลกทัศน์ของตัวบุคคลนั้นๆและผู้มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงดูเด็กเพื่อการดูแลที่เหมาะสมต่อบริบทที่หลากหลายมิใช่เพียงการใช้มุมมองของทางการแพทย์ รวมถึงการให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง เป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วยทาให้เกิดการดูแลสุขภาพได้ยั่งยืนและมีความเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ด้วย
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งดินลุ่มจึงได้ทำโครงการ “ฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย” ประจำปี 2562 ขึ้นโดยให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาฟันผุในทุกกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน และส่งผลให้ประชากรมีสภาวะทันตสุขภาพที่ดีในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษา
  2. ข้อที่ 2 กลุ่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ
  2. 2.กิจกรรมเสริมทักษะกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
กลุ่มวัยทำงาน 42
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 12
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
    1. กลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับคำแนะนำ ได้รับบริการทางทันตกรรม และส่งต่อมารับการรักษาที่จำเป็นที่โรงพยาบาล
  2. กลุ่มเป้าหมายสามารถแปรงฟันของตนเองได้อย่างถูกวิธี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ

วันที่ 19 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

๑. อบรมหมอฟันน้อยจำนวน ๔๕ คน ๒. อบรมแกนนำสุขภาพ จำนวน ๔๑ คน ๓. อบรมหญิงตั้งครรภ์จำนวน ๑๒ คน ๔. จัดเวทีประจำปี ครูอนามัย โรงเรียน ละ ๔ คน จำนวน ๘ คน
๖. อบรมแม่ครัวโรงเรียน จำนวน ๒ คน รวม ๑๐ คน
๗.อบรมผู้ปกครองเด็ก ศพด.บ้านป่าแก่บ่อหิน จำนวน ๔๒ คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเป้าหมาย (ทุกกลุ่มวัย) ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษาร้อยละ ๑๐๐
เด็กนักเรียน (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปาแก่บ่อหิน ) และผู้ปกครอง จำนวน ๔๒ คน ครูอนามัยโรงเรียนแม่ครัวโรงเรียน จำนวน ๑๐ คน เข้าร่วมโครงการ ๑๐ คน กลุ่มแกนนำนักเรียน(หมอฟันน้อย) จำนวน ๔๕ คน เข้าร่วมโครงการ ๔๕ คน กลุ่มหญิงตั้งครรภ์/สามี จำนวน ๑๒ คน เข้าร่วมโครงการ ๑๒ คน กลุ่มแกนนำทันตสุขภาพ จำนวน  ๔๑ คน เข้าร่วมโครงการ ๔๑ คน

 

150 0

2. 1. อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ

วันที่ 19 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

๑. อบรมหมอฟันน้อยจำนวน ๔๕ คน ๒. อบรมแกนนำสุขภาพ จำนวน ๔๑ คน ๓. อบรมหญิงตั้งครรภ์จำนวน ๑๒ คน ๔. จัดเวทีประจำปี ครูอนามัย โรงเรียน ละ ๔ คน จำนวน ๘ คน
๖. อบรมแม่ครัวโรงเรียน จำนวน ๒ คน รวม ๑๐ คน
๗.อบรมผู้ปกครองเด็ก ศพด.บ้านป่าแก่บ่อหิน จำนวน ๔๒ คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเป้าหมาย (ทุกกลุ่มวัย) ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษาร้อยละ ๑๐๐
เด็กนักเรียน (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปาแก่บ่อหิน ) และผู้ปกครอง จำนวน ๔๒ คน ครูอนามัยโรงเรียนแม่ครัวโรงเรียน จำนวน ๑๐ คน เข้าร่วมโครงการ ๑๐ คน กลุ่มแกนนำนักเรียน(หมอฟันน้อย) จำนวน ๔๕ คน เข้าร่วมโครงการ ๔๕ คน กลุ่มหญิงตั้งครรภ์/สามี จำนวน ๑๒ คน เข้าร่วมโครงการ ๑๒ คน กลุ่มแกนนำทันตสุขภาพ จำนวน  ๔๑ คน เข้าร่วมโครงการ ๔๑ คน

 

150 0

3. 2.กิจกรรมเสริมทักษะกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 12 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

๑. ตรวจสุขภาพช่องปากกลุ่มเป้าหมาย ๒. ฝึกสาธิตการแปรงฟันที่ถุกวิธีและย้อมสีฟัน(กิจกรรมโรงเรียนแปรงฟัน๕ดาว) ๓.ฝึกวิธีการตรวจฟัน  กิจกรรมหนูน้อยรักการแปรงฟัน ๔. ทาฟลูออไรด์วานิช ๕. ประกวดมุมแปรงสีฟันสวยงาม(โรงเรียนบ้านป่าแก่บ่อหิน) ๖. ไวนิลเกมส์บันไดงูในเด็ก "เพื่อชีวิต พิชิตฟันผุ" ๗. สติกเกอร์ทาฟลูออไรด์วานิชในกลุ่มเด็ก ๐-๕ ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาำกและฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี ร้อยละ ๑๐๐ ๒. เด็กปฐมวัยมีโรคฟันผุระยะเริ่มแรกลดลงหลังได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชทุกๆ๓ เดือนร้อยละ ๒ ๓. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบ ปลอดขนม ปลอดขวดนมร้อยละ ๑๐๐ ๔. แบบประเมินทักษะการแปรงฟัน ค่า Plaque index ลดลงหลังการฝึกแปรงฟันครั้งที่๒ ร้อยละ ๘๕ ๕. แบบประเมินการอบรม ก่อน-หลัง(กลุ่มแกนนำสุขภาพ) ร้อยละ ๙๐.๒๔ ๖. แบบประเมินการอบรม ก่อน-หลัง(กลุ่มผู้ปกครองเด็ก ศพด.) ร้อยละ ๘๕ ๗.มุมเก็บแปรงสีฟัน ยาสีฟันในโรงเรียน (โรงเรียน๑แห่ง) ร้อยละ ๑๐๐

 

258 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

มีผู้เข้าร่วมโครงการกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษาร้อยละ ๑๐๐ - เด็กนักเรียนผศพด.บ้านป่าแก่บ่อหิน) และผู้ปกครองจำนวน ๔๒ คน - ครูอนามัยโรงเรียน/แม่ครัวโรงเรียน ๑๐ คนเข้าร่วมโครงการ ๑๐ คน - กลุ่มแกนนำนักเรนียน(หมอฟันน้อย) ๔๕ คน เข้าร่วมโครงการ ๔๕ คน - กลุ่มหญิงตั้งครรภ์/สามี จำนวน ๑๒ คน เข้าร่วมโครงการ ๑๒ คน - กลุ่มแกนนำทันตสุขภาพ ๔๑ คนเข้าร่วมโครงการ ๔๑ คน ๑. กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างถูกวิธี ร้อยละ ๑๐๐ ๒. เด็กปฐมวัยมีโรคฟันผุระยนะเริ่มแรกลดลงหลังได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชทุกๆ๓เดือน ร้อยละ ๒ ๓. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบปลอดขนม ปลอดขวดนม ร้อยละ ๑๐๐ ๔. แบบประเมินทักษะการแปรงฟัน ค่า Plaque indexลดลงหลังการฝึกแปรงฟันครั้งที่๒ ร้อยละ ๘๕ ๕. แบบประเมินการอบรม ก่อน-หลัง(กลุ่มแกนนำสุขภาพ) ร้อยละ ๙๐.๒๔ ๖. แบบประเมินการอบรม ก่อน-หลัง(กลุ่มผู้ปกครองเด็ก ศพด.) ร้อยละ ๘๕ ๗. มุมเก็บแปรงสีฟัน ยาสีฟันในโรงเรียน(โรงเรียน๑แห่ง) ร้อยละ ๑๐๐

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษา
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
0.00 100.00

กลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มวัยได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รนับทันตสุขศึกษา ร้อยละ ๑๐๐

2 ข้อที่ 2 กลุ่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีหลังจากการประเมินทุกๆ 3 เดือน
0.00 85.00

กลุ่มเป้าหมายมีทักษะการแปรงฟัน ประเมินจากแบบประเมินทักษะการแปรงฟัน ค่าPlaque indexลดลงหลังการฝึกแปรงฟันครั้งที่๒ ร้อยละ ๘๕

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 249 166
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150 66
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45 45
กลุ่มวัยทำงาน 42 43
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 12 12
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษา (2) ข้อที่ 2 กลุ่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ (2) 2.กิจกรรมเสริมทักษะกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ....กิจกรรมการการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กสำคัญที่พ่อแม่ผู้ปกครองต้องหมั่นสนใจ ใส่ใจในการดูแล เพื่อให้เป็นกิจวัตร สร้างเป้นนิสัย เพื่อการมีสุขภาพฟันที่ดีต่อไป

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ฟันดี ยิ้มสวย เคี้ยวอร่อย จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5295-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสะบัน สำนักพงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด