กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาข้าวเสีย


“ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนในประชากรกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประจำปี 2562 ”

ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางจิตรา ด้วงชู

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนในประชากรกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1475-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 พฤษภาคม 2562 ถึง 6 พฤษภาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนในประชากรกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประจำปี 2562 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาข้าวเสีย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนในประชากรกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนในประชากรกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1475-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 พฤษภาคม 2562 - 6 พฤษภาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาข้าวเสีย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน ประเทศไทยมีค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 5 โรค (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง) ในปี 2561 สูงถึง 25,225 ล้านบาทต่อปี และเป็นค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 2,465 ล้านบาทต่อปี ประมาณการจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 10 ล้านคน จะสูญเสียค่ารักษาทั้งสิ้น 79,263 ล้านบาทต่อปี ส่งผลกระทบต่อคุณภาพของประชากร ความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรผลต่อความยากจนทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และสังคม ดังนั้น การสนับสนุนให้ประชาชนเห็นความสำคัญใส่ใจในการดูแลสุขภาพของตนเองและรู้ค่าตัวเลขระดับความดันโลหิตสูงของตนเอง จะทำให้เกิดความตระหนักในการป้องกันควบคุมและลดความรุนแรงของโรคได้ ทั้งนี้ วิธีที่ดีที่สุดในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง นั่นคือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (1) การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ หลีกเลี่ยงอาหารรสหวาน มัน เค็มจัด (2) ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 150 นาทีต่อสัปดาห์ (3) งดการสูบบุหรี่และงดดื่มสุรา (4) ควรรับการตรวจวัดค่าระดับความดันโลหิตเป็นประจำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และ (5) การทำจิตใจให้แจ่มใสอยู่เสมอ (กรมควบคุมโรค, 2561) จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมาบบอน มีกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 100 คน คิดเป็นอัตราป่วย ร้อยละ 2,993.12 ต่อแสนประชากร, กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวาน 24 คน คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 718.35 ต่อแสนประชากร ดังนั้น ในการดำเนินการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขให้ได้ผลทั้งในเชิงป้องกันและแก้ไขปัญหา ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว จำเป็นต้องพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อ ค่านิยม และทักษะที่จำเป็นด้านสุขภาพ ตลอดจนการจัดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ทั้งนี้หลักสำคัญในการดูแลสุขภาพเพื่อก้าวสู่การมีสุขภาพดี คือ การดูแลและให้ความรู้ด้านโภชนาการอาหาร การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ และลดพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคให้ถูกชนิด ปริมาณ และถูกเวลา ควรเลือกบริโภคอาหารให้ครบ ๕ หมู่ มีความหลากหลายและพอเพียง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเฝ้าระวัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนในประชากรกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและ เบาหวาน 2. เพื่อให้กลุ่มป่วยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชากรกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถป้องกันตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง
      1. ประชากรกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมความดันโลหิต ได้ดี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.กลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน มีความรู้ความเข้าใจ ในการปฏิบัติตามหลัก 3 อ 2 สามารถป้องกันตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 86.25 2.กลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 59.48 และกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ร้อยละ 40.37

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อเฝ้าระวัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนในประชากรกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและ เบาหวาน 2. เพื่อให้กลุ่มป่วยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของประชากรกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานสามารถควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิต ได้ดี 2. ร้อยละ 80 ของกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันหิตสูงและเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการปฏิบัติ ตามหลัก 3อ.2ส. เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเฝ้าระวัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนในประชากรกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและ  เบาหวาน 2. เพื่อให้กลุ่มป่วยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนในประชากรกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประจำปี 2562 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 62-L1475-01-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจิตรา ด้วงชู )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด