กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาข้าวเสีย


“ โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2562 ”

ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางจิตรา ด้วงชู

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1475-01-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 พฤษภาคม 2562 ถึง 20 พฤษภาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2562 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาข้าวเสีย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1475-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 พฤษภาคม 2562 - 20 พฤษภาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาข้าวเสีย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ข้อมูลจากแผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. 2560-2564 ระบุ วัณโรคเป็นโรคติดเชื้อที่เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของโลกในปี 2557 และในปี 2558 องค์การอนามัยโลกจัดให้ประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศที่มีปัญหาวัณโรครุนแรงระดับโลก โดยมีอัตราของวัณโรครายใหม่สูงกว่าค่าเฉลี่ยโลก 1.3 เท่า มีผู้เสียชีวิตถึง 12,000 ราย จากจำนวนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ที่คาดประมาณราว 120,000 รายต่อปี ขณะที่มีผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนการรักษาเพียง 58,714 ราย หรือประมาณร้อยละ 50 คิดเป็นอัตราการรักษาสำเร็จร้อยละ 78 ซึ่งยังต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่นานาชาติกำหนด นอกจากนี้ จากการสำรวจทำให้ทราบว่า ผู้ป่วยเกินกว่าครึ่งหนึ่งไม่มีอาการหรือมีอาการเล็กน้อย ซึ่งผู้ป่วยที่ตรวจพบและรายงานมีเพียงร้อยละ 59 ของที่คาดประมาณเท่านั้น สะท้อนให้เห็นว่าผู้ป่วยยังเข้าไม่ถึงหรือเข้าถึงการรักษาอย่างล่าช้า ทำให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อในชุมชน ส่งผลให้อัตราป่วยลดลงได้เพียงช้าๆ เท่านั้น
จากทะเบียนงานควบคุมโรคติดต่อของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมาบบอน พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงด้วยวัณโรค ได้แก่ ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 58 คน ผู้สูงอายุที่มีโรคร่วม จำนวน 17 คน และผู้สัมผัสร่วมบ้าน จำนวน 15 คน ดังนั้น ในการดำเนินการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขให้ได้ผลทั้งในเชิงป้องกัน และแก้ไขปัญหาทั้งในระยะสั้นและระยะยาว จึงได้จัดทำกิจกรรมค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุก ควบคุมกลุ่มป่วย และเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ 2562 เพื่อควบคุม และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชนมิให้มีการแพร่ระบาดของโรคไปในวงกว้าง ป้องกันโรคล่วงหน้าให้ทันต่อสถานการณ์ที่เกิดโรค และดำเนินการอย่างต่อเนื่องเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันต่างๆ โรงเรียน รวมทั้งประชาชนโดยทั่วไปได้ทราบ และเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกัน และควบคุมโรค โดยบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งรังโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราป่วย และการแพร่กระจายของโรค 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน 3. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค 4. เพื่อพัฒนาระบบการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค
      1. ผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรค ได้รับการส่งต่อ เพื่อรับการตรวจยืนยัน และรักษา

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.กลุ่มเสี่ยงวัณโรคมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค ร้อยละ 80 2.ผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรค ได้รับการส่งต่อ เพื่อรับตรวจยืนยัน และรักษา ร้อยละ 100

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อลดอัตราป่วย และการแพร่กระจายของโรค 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน 3. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค 4. เพื่อพัฒนาระบบการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค 2. ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรค ได้รับการส่งต่อ เพื่อรับการตรวจยืนยัน และรักษา
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราป่วย และการแพร่กระจายของโรค 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชน 3. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการป้องกันโรค 4. เพื่อพัฒนาระบบการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงวัณโรค ประจำปี 2562 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 62-L1475-01-12

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจิตรา ด้วงชู )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด