โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ประจำปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ประจำปี 2560 ”
ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุรไอซะห์ เซะบากอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ประจำปี 2560
ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-l4143-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ประจำปี 2560 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-l4143-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นงานบริการขั้นพื้นฐานที่เด็กไทยทุกคนพึงได้รับบริการจากรัฐและผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ0-5 ปี ควรที่จะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจากการสัมภาษณ์และสอบถามผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ0-5ปีเกี่ยวกับการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของเด็กที่อยู่ในความดูแลของผู้ปกครอง ชุมชนเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลตำบลนิบงบารูยังพบผู้ปกครองอีกหลายท่านที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของเด็กในการปกครอง
จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าการดำเนินงานในกิจกรรมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีประชากรเด็ก 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2559 จำนวน 917 คน และวัคซีนตามเกณฑ์ จำนวน735 คน คิดเป็นร้อลละ 80.15 ซึ่งยังไม่บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนให้ได้ร้อยละ90 ซึ่งเป็นการดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขแต่เพียงฝ่ายเดียว ไม่ได้รับความร่วมมือจากชุมชนเท่าที่ควรทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุตามเป้าหมาย ดังนั้นการดำเนินงานในกิจกรรมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจึงจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากองค์กรชุมชน เช่น ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. ในการติดตามเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันด้วยวั๕ซีนได้ ฉะนั้นความร่วมมือจากหลายๆฝ่ายทำให้ชุมชนห่างไกลจากโรคติดต่อต่างๆได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิบงบารูจุงได้จัดทำโครงการเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ0-5 ปี ประจำปี2560 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ได้ร้อบละ 90
- 2.เพื่อลกอัตราการป่วยตายในโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.องค์กรชุมชน ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อาสาสมัคร ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการดำเินงาน
2.ผู้แกครองเด็กที่มีอายุ 0 -5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคอย่างถูกต้อง
3.ผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ 0-5 ปี สามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการำด้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคไปเผยแพร่ให้กับชาวบ้านต่อไปได้
4.ผู้ปกครองสามารถส่งเสริมพัฒนาการของบุตรได้เหมาะสมตามวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้เรื่องวัคซีน
วันที่ 13 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการอบรมมีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ปกครองและมีผู้ปกครองต้นแบบที่เลี้ยงดูบุตรอย่างดี และรับวัคซีนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในครั้งนี้ มีการออกรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชน และผู้ปกครองเด็กในหมู่
3,7,13 ตำบลสะเตงนอก จัดทีมเฉพาะกิจออกให้บริการฉีดวัคซีนแก่เด็กในหมู่บ้าน ในกรณีเด็กไม่มารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กทุกกลุ่มอายุเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา แต่น้อยกว่าร้อยละ90 ซึ่งตั้งไว้คือ คลอบคลุมการได้รับวัคซีนในกลุ่มอายุให้ได้ร้อยละ 90
40
40
2. มอบชุดพัฒนาการให้แก่เด็กที่มารับวัคซีนครบตามเกณฑ์
วันที่ 13 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กเข้ารับบริการฉีดวัคซีนเพิ่มขึ้น
200
200
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนสร้างภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กอายุ 0-5 ปี เพิ่มขึ้นจากปี่ที่ผ่านมา ดังนี้
1.1 ครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 1 ปี เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 79.00 (ปี 2559 คิดเป็นร้อยละ 64.84)แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความคลอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90
1.2. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 2 ปี เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 84.33 (ปี 2559 คิดเป็นร้อยละ 72.50)แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90
1.3. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 3 ปีเพิ่มขึ้นจากปีที่่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 81.48 (ปี2559 คิดเป็นร้อยละ 59.26) แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90
1.4 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 5 ปี เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 64.90 ( ปี2559 คิดเป็นร้อยละ 36.59) แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความคลอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90
1.5 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MMR ในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 82.00 (ปี2559 คิดเป็นร้อยละ 81.34)แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90
1.6 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนโปลิโอชนิดฉีด (IPV) ในเด็กอายุ 4 เดือน เพิ่มขึ้นจากปีทีผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 90.74 (ปี 2559 คิดเป็นร้อยละ 63.85) แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90
2.ลดอัตราการป่วย/ตาย ในโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน คิดเป็นร้อยละ 0 ต่อแสนประชากร (ซึ่งเป้าหมายต้องน้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อแสนประชากร)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ได้ร้อบละ 90
ตัวชี้วัด :
2
2.เพื่อลกอัตราการป่วยตายในโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนได้
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ได้ร้อบละ 90 (2) 2.เพื่อลกอัตราการป่วยตายในโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ประจำปี 2560 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-l4143-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนุรไอซะห์ เซะบากอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ประจำปี 2560 ”
ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุรไอซะห์ เซะบากอ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-l4143-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ประจำปี 2560 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-l4143-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นงานบริการขั้นพื้นฐานที่เด็กไทยทุกคนพึงได้รับบริการจากรัฐและผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ0-5 ปี ควรที่จะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจากการสัมภาษณ์และสอบถามผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ0-5ปีเกี่ยวกับการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของเด็กที่อยู่ในความดูแลของผู้ปกครอง ชุมชนเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลตำบลนิบงบารูยังพบผู้ปกครองอีกหลายท่านที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของเด็กในการปกครอง จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าการดำเนินงานในกิจกรรมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีประชากรเด็ก 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2559 จำนวน 917 คน และวัคซีนตามเกณฑ์ จำนวน735 คน คิดเป็นร้อลละ 80.15 ซึ่งยังไม่บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนให้ได้ร้อยละ90 ซึ่งเป็นการดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขแต่เพียงฝ่ายเดียว ไม่ได้รับความร่วมมือจากชุมชนเท่าที่ควรทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุตามเป้าหมาย ดังนั้นการดำเนินงานในกิจกรรมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจึงจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากองค์กรชุมชน เช่น ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. ในการติดตามเด็ก 0-5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันด้วยวั๕ซีนได้ ฉะนั้นความร่วมมือจากหลายๆฝ่ายทำให้ชุมชนห่างไกลจากโรคติดต่อต่างๆได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิบงบารูจุงได้จัดทำโครงการเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ0-5 ปี ประจำปี2560 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ได้ร้อบละ 90
- 2.เพื่อลกอัตราการป่วยตายในโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.องค์กรชุมชน ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อาสาสมัคร ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการดำเินงาน 2.ผู้แกครองเด็กที่มีอายุ 0 -5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคอย่างถูกต้อง 3.ผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ 0-5 ปี สามารถนำความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการำด้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคไปเผยแพร่ให้กับชาวบ้านต่อไปได้ 4.ผู้ปกครองสามารถส่งเสริมพัฒนาการของบุตรได้เหมาะสมตามวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้เรื่องวัคซีน |
||
วันที่ 13 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการอบรมมีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ปกครองและมีผู้ปกครองต้นแบบที่เลี้ยงดูบุตรอย่างดี และรับวัคซีนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในครั้งนี้ มีการออกรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชน และผู้ปกครองเด็กในหมู่ 3,7,13 ตำบลสะเตงนอก จัดทีมเฉพาะกิจออกให้บริการฉีดวัคซีนแก่เด็กในหมู่บ้าน ในกรณีเด็กไม่มารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กทุกกลุ่มอายุเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา แต่น้อยกว่าร้อยละ90 ซึ่งตั้งไว้คือ คลอบคลุมการได้รับวัคซีนในกลุ่มอายุให้ได้ร้อยละ 90
|
40 | 40 |
2. มอบชุดพัฒนาการให้แก่เด็กที่มารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ |
||
วันที่ 13 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กเข้ารับบริการฉีดวัคซีนเพิ่มขึ้น
|
200 | 200 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนสร้างภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กอายุ 0-5 ปี เพิ่มขึ้นจากปี่ที่ผ่านมา ดังนี้
1.1 ครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 1 ปี เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 79.00 (ปี 2559 คิดเป็นร้อยละ 64.84)แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความคลอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90
1.2. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 2 ปี เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 84.33 (ปี 2559 คิดเป็นร้อยละ 72.50)แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90
1.3. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 3 ปีเพิ่มขึ้นจากปีที่่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 81.48 (ปี2559 คิดเป็นร้อยละ 59.26) แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90
1.4 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 5 ปี เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 64.90 ( ปี2559 คิดเป็นร้อยละ 36.59) แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความคลอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90
1.5 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MMR ในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 82.00 (ปี2559 คิดเป็นร้อยละ 81.34)แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90
1.6 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนโปลิโอชนิดฉีด (IPV) ในเด็กอายุ 4 เดือน เพิ่มขึ้นจากปีทีผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 90.74 (ปี 2559 คิดเป็นร้อยละ 63.85) แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ให้ได้ร้อยละ 90
2.ลดอัตราการป่วย/ตาย ในโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน คิดเป็นร้อยละ 0 ต่อแสนประชากร (ซึ่งเป้าหมายต้องน้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อแสนประชากร)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ได้ร้อบละ 90 ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2.เพื่อลกอัตราการป่วยตายในโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนได้ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กอายุ 0-5 ปี ให้ได้ร้อบละ 90 (2) 2.เพื่อลกอัตราการป่วยตายในโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ประจำปี 2560 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-l4143-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนุรไอซะห์ เซะบากอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......