กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน) ตำบลยาบี ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวแมรี แวฮามะ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน) ตำบลยาบี

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3070-1-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน) ตำบลยาบี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน) ตำบลยาบี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน) ตำบลยาบี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3070-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,830.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาทางสาธารณสุขได้เปลี่ยนแปลงไปตามการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี่ และวิทยาการทางการแพทย์ ทำให้วิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป ปัจจัยดังกล่าวส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของประชากรทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้น เฉพาะกลุ่มโรคหัวใจ หลอดเลือด ได้แก่โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง(กรมการแพทย์,กระทรวงสาธารณสุข,2550) ประเทศไทยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรัง ซึ่งถือว่าเป็นภัยเงียบที่ไม่แสดงอาการแต่ตรวจพบได้ เป็นโรคที่เกิดขึ้นจากพันธุกรรม พฤติกรรมการรับประทานอาหาร การปฏิบัติตนไม่เหมาะสม เช่น ไม่ออกกำลังกาย สูบบุหรี่ ดื่มกาแฟ เป็นต้น พบจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นได้ในทุกชุมชนโดยเฉพาะโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสุขาภาพที่สำคัญในชุมชน จากสถานการณ์ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง พบความชุกเบาหวานในประชากรอายุ15 ปีขึ้นไป ร้อยละ 6.9 และประชากรอายุ 35ปีขึ้นไป ร้อยละ 9.6 และความชุกของโรคความดันในประชากร 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 21.4 ทั้งยังเป็นสาเหตุที่ทำให้ประเทศไทยเสียค่าใช้จ่ายอย่างมหาศาลในการดูแลรักษาและมักเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ตามมาอันได้แก่ โรคหัวใจ ไตวาย ตาบอด หลอดเลือดหัวใจตามมา (แพทย์หญิงสุพัตราและคณะ,2553) จังหวัดปัตตานีจากการดำเนินงานคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ตั้งแต่ปี 2551-2553 จากผลการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน ร้อยละ 74.29,74.22 และ73.48 ตามลำดับ พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ร้อยละ 5.02, 4.61 และ 7.05และป่วยด้วยโรคเบาหวาน ร้อยละ 1.54,1.82 และ2.29 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ จากการคัดกรองความเสี่ยงความดันโลหิตสูงประชากร35 ปีขึ้นไปร้อยละ 70.46,71.13 และ73.30 พบ กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงร้อยละ 9.53,10.05และ 11.63 ตามลำดับ และพบอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 4.12,4.98 และ5.27 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ทั้งยังพบว่าอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเพิ่มสูงขึ้น เกือบ 2 เท่าของทุกโรคและเป็นสาเหตุการเสียชีวิตใน10 อันดับแรกของจังหวัดปัตตานี(สถานการณ์โรคติดต่อไม่เรื้อรัง,จังหวัดปัตตานี,2553) จากข้อมูลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี จึงได้เห็นถึงความสำคัญในการการดูแลเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมและสามารถลดโรคลดเสี่ยงโรคเรื้อรังเบาหวาน ความดัน จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2562 ขึ้น โดยเน้นในกลุ่มที่เสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานและความดันเพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรคเรื้อรังได้ในอนาคตได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รุ่นที่ 1
  2. ตรวจสุขภาพเบื้องต้นตรวจวัดความดันโลหิตสูง และเจาะระดับน้ำตาลในเลือด
  3. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รุ่นที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานลดลงจากเดิมในปี 2562 2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3 อ 2 ส ร้อยละ 80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น ๙๐ คน ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยง โดยมีกิจกรรมเเลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ ๓ อ ๒ ส โดยเน้นเรื่องการควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ เเละสุรา,สารเสพติด กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ไปใช้ในการดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัวได้ เเละมีผลติดตามหลังจากอบรมโดยเจอเป็นกลุ่มปกติ ๔๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๐ กลุ่มเสี่ยง ๔๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๘.๘๘ เเละกลุ่มสูง ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๑๒ โดยกลุ่มปกติก็นัดตรวจสุขภาพปีละ ๑ ครั้ง กลุ่มเสี่ยงก็นัดตรวจสุขภาพซ้ำ ๖ เดือน เเละกลุ่มสูงนัดตรวจสุขภาพ ๑ เดือนครั้ง เเละประเมินผลซ้ำ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
95.00 80.00 100.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
95.00 80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รุ่นที่ 1 (2) ตรวจสุขภาพเบื้องต้นตรวจวัดความดันโลหิตสูง และเจาะระดับน้ำตาลในเลือด (3) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รุ่นที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน) ตำบลยาบี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3070-1-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวแมรี แวฮามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด