กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ


“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละ ”

ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
กองการศึกษาฯ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละ

ที่อยู่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 20/2562 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 20/2562 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละจำนวน 207 คน พบว่ามีปัญหาฟันน้ำนมผุ เฉลี่ย คนละ 3 ซี่  ซึ่งสาเหตุของการเกิดฟันผุเนื่องจากเด็กชอบรับประทานอาหารรสหวานอยู่เสมอ รวมทั้งผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กขาดการเอาใจใส่ดูแลช่องปากและฟันของเด็กจึงทำให้เกิดปัญหาฟันน้ำนมผุตามมา             การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว      ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่เสีย ถูกถอน หรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้น แทนที่ จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวน เก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะบิด ซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็ก ซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าในการแสดงออก
            การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจร การตรวจสุขภาพช่องปาก , การให้สุขศึกษา , บริการทันตกรรม , การแปรงฟันที่ถูกวิธี , การบำบัดรักษา และการติดตามประเมินผล  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังทันตสุขภาพและตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้เฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียนให้มีฟันผุน้อยลง 2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลทันตสุขภาพของเด็กก่อนวัยเรียน 3. เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันของเด็กก่อนวัยเรียน 4. เพื่อให้ชุมชนได้เกิดการเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการส่งเสริมทันตสุขภาพ 5. เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กก่อนวัยเรียนมีอนามัยช่องปากที่ดีไม่เป็นปัญหา
  2. ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
  3. ชุมชนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
  4. ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของเด็กก่อนวัยเรียน
  5. เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละ

วันที่ 20 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

5.1 ขั้นเตรียมการ 5.1.1 สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละ 5.1.2 ศึกษาข้อมูลทางด้านครอบครัวที่มีผลต่อทันตสุขภาพของเด็ก 5.1.3 จัดทำโครงการเพื่อเสนออนุมัติ 5.1.4 ขออนุมัติโครงการต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตันหยงลุโละ 5.1.5  ประชุมเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยและคณะวิทยากรเพื่อเตรียมการและกำหนดกิจกรรมดำเนินการ 5.2 ขั้นดำเนินการ 5.2.1 จัดอบรมให้ความรู้ทางทันตสาธารณสุขและชี้แจงโครงการ แก่ผู้ปกครอง , กลุ่มแม่บ้านและผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
5.2.2 ตรวจสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียน ปีละ 2 ครั้งและส่งรักษาต่อในรายที่พบปัญหาเร่งด่วน 5.2.3 จัดตั้งกองทุนแปรงสีฟัน จำนวน 1 กองทุน ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละ                 5.2.4 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการกองทุนแปรงสีฟัน               5.2.5 จัดให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้แปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน โดยมีผู้ดูแลเด็กเป็นผู้ควบคุม 5.2.6 เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยติดตามผลการดำเนินงานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเดือนละ 1 ครั้ง 5.2.7 สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตัวชี้วัดความสำเร็จของกิจกรรม (เป้าหมาย) • โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละ            ประจำปี 2562 จำนวน 1 ครั้ง • ร้อยละ 80 สามารถดำเนินงานด้านการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพ โดยผู้ปกครองตระหนักเรื่องสุขภาพช่องปากของเด็ก และสามารถลดการเกิดอาการฟันผุได้

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการจัดโครงการครั้งนี้ ผู้ปกครองได้รับรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องฟันของเด็กก่อนวัยเรียน จึงอยากให้มีการจัดการประกวดหนูน้อยฟันสวยและสุขภาพดี เพื่อเป็นกระตุ้นและรณรงค์ส่งเสริมการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพที่ดีของเด็กก่อนวัยเรียน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียนให้มีฟันผุน้อยลง 2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลทันตสุขภาพของเด็กก่อนวัยเรียน 3. เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันของเด็กก่อนวัยเรียน 4. เพื่อให้ชุมชนได้เกิดการเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการส่งเสริมทันตสุขภาพ 5. เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
ตัวชี้วัด :
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียนให้มีฟันผุน้อยลง 2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลทันตสุขภาพของเด็กก่อนวัยเรียน 3. เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันของเด็กก่อนวัยเรียน 4. เพื่อให้ชุมชนได้เกิดการเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการส่งเสริมทันตสุขภาพ 5. เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตันหยงลุโละ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 20/2562

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองการศึกษาฯ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด