กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางราตรี ฐิตอาภากุล ครู โรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62 – L7452 – 2 - 13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62 – L7452 – 2 - 13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 77,120.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญซึ่งมีผลกระทบและเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ รัฐบาลได้กำหนดให้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติ และกำหนดยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดเพื่อให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ยึดเป็นหลักในการขับเคลื่อนงานยาเสพติดและได้มอบหมายให้กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานหลักรับผิดชอบแผนที่ 3 แผนการสร้างภูมิคุ้มกันและสร้างระบบป้องกัน เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา เยาวชน คืออนาคตของชาติปัจจุบันสังคมไทยกำลังประสบปัญหาวิกฤต จากสถานการณ์ปัญหายาเสพติดที่ได้เริ่มแพร่ระบาดและกำลังทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างน่าวิตก การหวนกลับมาระบาดอย่างหนักของยาเสพติดในปัจจุบัน เป็นผลให้เยาวชน หลงผิดเข้าสู่วงจรของการซื้อขายและเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากเป็นวัยที่เอื้อต่อการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดทั้งปัจจัยจากตนเอง คือ เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ ต้องการค้นหาตัวตนสร้างการยอมรับ มีแรงผลักดันทางอารมณ์สูง กล้าเสี่ยง กล้าทำสิ่งท้าทาย นอกจากนี้ นักค้ายาเสพติดต่าง มองว่าเยาวชนส่วนใหญ่มีเงิน จึงมีความมั่นใจว่าการค้ายาเสพติดกับเยาวชนนั้น จะทำให้มีลูกค้าอยู่สม่ำเสมอ จากสถิติค้ายาเสพติดพบว่า เด็กและเยาวชนที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเริ่มมีอายุน้อยลงซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาประเทศ และเป็นการทำลายทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นอนาคตและเป็นพลังในการพัฒนาประเทศให้ด้อยคุณภาพ อันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นภาระงบประมาณของประเทศในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติด อีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง และปัญหายาเสพติดได้นำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคม เช่น การลักขโมย ฉกชิงวิ่งราวและการก่อปัญหาอาชญากรรมอื่นๆตามมาอีกมากมาย ซึ่งทำให้มีผลกระทบต่อสังคมโดยรวม ซึ่งปัจจุบันนี้รัฐบาลได้มีนโยบายในการแก้ไขปัญหายาเสพติดตามยุทธศาสตร์ 5 รั้วป้องกัน คือ 1. รั้วชายแดน 2. รั้วชุมชน 3. รั้วสังคม4. รั้วครอบครัว และ 5. รั้วโรงเรียน ซึ่งจากทั้ง 5 รั้วป้องกันนี้ จะเห็นได้ว่า รั้วเยาวชน และรั้วโรงเรียน เป็นยุทธศาสตร์ที่รัฐบาลให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นรากฐานและเป็นทรัพยากรที่สำคัญในการพัฒนาประเทศจากที่กล่าวมาจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้องเรียนรู้วิธีป้องกันยาเสพติดในเด็กและเยาวชน เพื่อจะได้สามารถร่วมมือกันปกป้องเด็กและเยาวชน จากปัญหายาเสพติด โรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์ตระหนักและเห็นความสำคัญกับปัญหาที่เกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชน และเพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล จึงได้จัดทำโครงการเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงพิษภัยของสารเสพติด
  2. ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียน ให้สามารถป้องกันตนเอง ไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงครู และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 40 คน
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เป้าหมาย นักเรียนโรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 330 คน และครูที่เกี่ยวข้อง จำนวน 20 คน รวมทั้งสิ้น 350 คน ระยะเวลา 1 วัน
  3. กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมการเดินรณรงค์ต้านยาเสพติด โดยนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 330 คน และครู จำนวน 20 คน รวมทั้งสิ้น 350 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 330
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สถานศึกษามีเครือข่ายนักเรียน เครือข่ายผู้ปกครองในการป้องกันและแก้ไขต่อต้านยาเสพติด 3.นักเรียนสามารถป้องกันตนเองไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด 4.นักเรียนมีภูมิคุ้มกันด้านยาเสพติดและใช้เวลาว่างในการเล่นกีฬาไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด 5.สถานศึกษา ชุมชน และประเทศชาติ มีความเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงพิษภัยของสารเสพติด
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของนักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความเข้าใจ ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียน ให้สามารถป้องกันตนเอง ไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจการเข้าร่วมกิจกรรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 350
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 330
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงพิษภัยของสารเสพติด (2) ข้อที่ 2  เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียน ให้สามารถป้องกันตนเอง  ไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงครู และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 40 คน (2) กิจกรรมที่ 2  จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เป้าหมาย นักเรียนโรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 330 คน และครูที่เกี่ยวข้อง จำนวน  20 คน รวมทั้งสิ้น 350 คน ระยะเวลา 1 วัน (3) กิจกรรมที่  3  จัดกิจกรรมการเดินรณรงค์ต้านยาเสพติด โดยนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 330 คน และครู จำนวน 20 คน  รวมทั้งสิ้น 350 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62 – L7452 – 2 - 13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางราตรี ฐิตอาภากุล ครู โรงเรียนนิบงชนูปถัมภ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด