โครงการหมู่บ้านปลอดภัย ใส่ใจป้องกันโรคติดต่อ ปี ๒๕๖๐
ชื่อโครงการ | โครงการหมู่บ้านปลอดภัย ใส่ใจป้องกันโรคติดต่อ ปี ๒๕๖๐ |
รหัสโครงการ | 60-L1522-2-006 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อาสาสมัครสาธารณสุขของรพ.สต.บ้านแหลมมะขาม |
วันที่อนุมัติ | 27 มีนาคม 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 30,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | อาสาสมัครสาธารณสุขของรพ.สต.บ้านแหลมมะขาม |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเขาไม้แก้ว อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.645,99.306place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ก.ย. 2560 | 30 ก.ย. 2560 | 30,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 30,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันนี้ปัญหาการเกิดโรคติดต่อในชุมชนเกิดจากหลายปัจจัยเป็นตัวกำหนด ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ สังคม หรือสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสิ่งแวดล้อมนับว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญ ที่ทำให้สุขภาพและความเป็นอยู่ดีขึ้นสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทั้งกายภาพและสังคม หากขาดการใส่ใจการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม อันได้แก่ ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย น้ำดื่มน้ำใช้ที่สะอาดและการกำจัดขยะรวมทั้งการกำจัดสัตว์หรือแมลงนำโรค เป็นต้น การละเลยการสร้างสุขนิสัยของตนเองซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วงโรคระบบทางเดินอาหารเป็นต้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อให้ทีมเฝ้าระวังมีความรู้และสามารถควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชนได้
|
||
2 | ๒.เพื่อให้ชุมชุนมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน
|
||
3 | ๓.เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.๑ อบรมพัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคของสถานบริการ 1.๒ จัดประชุมแกนนำหมู่บ้าน ผู้นำและสถานศึกษาในการดำเนินงานเรื่องการป้องกันโรคระบาดในชุมชน 1.๓ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ 1.๔จัดซื่อวัสดุครุภัณฑ์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ๑.๕ ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ
๑. ทุกหมู่บ้านสามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อได้
๒. ร้อยละ ๙๐ ของหมู่บ้าน มีค่าHI
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 เม.ย. 2560 13:54 น.