กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 ๑. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ๑.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ไม่มีภาวะแทรกซ้อน/เสียชีวิตขณะตั้งครรภ์จนคลอด
0.00 0.00

 

 

1.จำนวนหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ทั้งหมด ...รายได้รับการดูแลตามมาตรฐาน(ฝากครรภ์5 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ100 และไม่มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์

2 ๒. เพื่อป้องกันประชากรกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตรายใหม่
ตัวชี้วัด : ๒.ร้อยละ๙๐ ของเด็กอายุ ๐-๕ ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
90.00 93.33

 

 

2.จำนวนเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์จำนวน 28 ราย/ร้อยละ 93.33

3 ๓. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการดูแลตามมาตรฐานเฉพาะโรคและลดภาวะแทรกซ้อนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : ๓.ร้อยละ๙๓ ของเด็กอายุ ๐-๕ ปี พัฒนาการสมวัย
93.00 97.24

 

 

3.จำนวนเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 97.24

4 ๔ เพื่อป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ๔.ร้อยละ๙๐ ของประชาชน ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองสุขภาพ
90.00 95.17

 

 

  1. ประชาชน 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง ดังนี้
    • คัดกรองเบาหวาน ร้อยละ92.14
    • คัดกรองความดัน ร้อยละ95.17
5 ๕. เพื่อป้องกันการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์และกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยง
ตัวชี้วัด : ๕.ร้อยละ๘๐ ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรังใหม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
80.00 100.00

 

 

5.กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ100

6 ๖. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามมาตรฐานฝากครรภ์คุณภาพ หญิงครรภ์เสี่ยงได้รับการดูแลที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ๖.ร้อยละ๕ ของการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่
5.00 4.16

 

 

  1. อัตราการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ DM11 ราย คิดเป็นร้อยละ3.84(ทั้งหมด286) HT13 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.16(ทั้งหมด312)
7 ๗. เพื่อให้ร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน CFGT ผู้บริโภคปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ๗.ร้อยละ๙๐ ผู้ป่วยเรื้อรังที่รับบริการที่ PCU ได้รับการดูแลและตรวจตามมาตรฐานเฉพาะโรค
90.00 100.00

 

 

  1. . ผู้ป่วยเรื้อรังที่รับบริการที่ PCU.ได้รับการดูแลและตรวจตามมาตรฐานเฉพาะโรคคิดเป็นร้อยละ100 (จำนวนผู้ป่วยที่รับยาในโครงการ 19 ราย ได้รับการตรวจเลือดทั้งหมด )
8 ๘. เด็กวัย ๐-๖ ปี มีการเจริญเติบโต รับวัคซีนขั้นพื้นฐานและมีพัฒนาการเหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : ๘.ร้อยละ๕ ผู้ป่วยเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่
5.00 0.00

 

 

  1. . ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่คิดเป็นร้อยละ0.6 /จำนวน5ราย(ทั้งหมด 838 ราย) 9.หญิงอายุ 30-70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองถูกต้องคิดเป็นร้อยละ 52.71
9 ๙. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพทั้งด้านร้างกาย อารมณ์ สังคม อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ๙.ร้อยละ๘๐ หญิงอายุ ๓๐ – ๗๐ ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง ๑๐.ร้อยละ20 หญิงอายุ ๓๐- ๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ๑๑.ร้อยละ๘๐ ของร้านอาหารที่ต้องผ่านเกณฑ์ GFGT
0.00

 

 

  1. หญิงอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก คิดเป็นร้อยละ45.07 11.ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ CFGT คิดเป็นร้อยละ60 (ร้านอาหารทั้งหมด 80 ร้าน /มีผ่านเกณฑ์ ทั้งหมด48 ร้าน)