กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง ในเขตเทศบาลนครสงขลา ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
(นางลักษณา หวัดเพ็ชร) ตำแหน่ง หัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง ในเขตเทศบาลนครสงขลา

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7250-01-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง ในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง ในเขตเทศบาลนครสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง ในเขตเทศบาลนครสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7250-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 90,700.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม เป็นแนวคิดด้านสุขภาพที่มองบุคคลทั้งชีวิตครอบคลุมทั้งร่างกาย จิตใจ วิญญาณและสังคม ที่มีความเชื่อมโยงเป็นเป็นหนึ่งเดียวกัน หน่วยบริการปฐมภูมิศูนย์บริการสุขภาพชุมชนใจกลางเมือง กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.สงขลา เป็นหน่วยงานให้บริการสุขภาพชุมชน ๔ มิติ แบบองค์รวม  ในพื้นที่ ๖ ชุมชน ได้แก่ ชุมชนบ้านบน , ชุมชนมัสยิดบ้านบน , ชุมชนเมืองเก่า , ชุมชนสานฝัน , ชุมชนสวนหมาก และชุมชนดอนรัก รับผิดชอบประชากรจำนวน ๘,๔๔๒ คน จำนวน ๓,๔๐๙ หลังคาเรือน มีโรงเรียนในความรับผิดชอบ ๓ แห่ง ได้แก่ โรงเรียนหวังดี โรงเรียนสตรีวชิรานุกูลและโรงเรียนวรนารีเฉลิม มีวัดรับผิดชอบจำนวน ๔ วัด คือ วัดโพธิ์ปฐมาวาส วัดดอนแย้ วัดเลียบ วัดยางทอง รวมทั้ง ๑ มัสยิดในชุมชนมัสยิดบ้านบน ข้อมูลปี ๒๕๖๑ พบว่าประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปจำนวน ๓,๕๖๘ คน ได้รับคัดกรองสุขภาพจำนวน ๒,๙๕๘ คน คิดเป็น ๘๒.๙๐% พบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง จำนวน ๒๙๔ คน คิดเป็น ๘.๒๕% มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวน ๑,๕๔๗ คน มารับบริการที่คลินิกโรคเรื้อรังศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง จำนวน ๒๖ คน คิดเป็น ๑.๖๘ % เด็กอายุ ๐-๓ ปี จำนวน ๙๔ คนมีภาวะน้ำหนักน้อยต่ำกว่าเกณฑ์ ๑๐ คน คิดเป็น ๑๐.๖๓ % มีผู้สูงอายุ จำนวน ๑,๙๖๑ คน มีผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน ๔ คน คิดเป็น ๔.๙ ต่อแสนประชากร จากปัญหาข้อมูลดังกล่าวศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการที่จะดูแลส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยเชิงรุกสู่ชุมชนขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้านสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมทั่วถึง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย
  2. ๒. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
  3. ๓. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
  4. ๔. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 406
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนในเขตรับผิดชอบได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐานแบบองค์รวมและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสามารถดูแลตนเองและครอบครัวได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรมที่ ๑ งานภาคประชาชน กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดมความคิดเห็นในการส่งเสริมสุขภาพ และแก้ไขปัญหาในชุมชน จำนวน ๖ ครั้ง ดังนี้     ครั้งที่ ๑. วันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๒ ครั้งที่ ๒. วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒     ครั้งที่ ๓. วันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๒     ครั้งที่ ๔. วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒     ครั้งที่ ๕. วันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๖๒     ครั้งที่ ๖. วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๒
    กิจกรรมที่ ๒ งานอนามัยแม่และเด็ก ๒.๑ กิจกรรมอบรมการส่งเสริมความรู้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย๐-๓ ปีเรื่องโภชนาการและพัฒนาการ จัดกิจกรรมวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๖๒ ที่ห้องประชุมโรงพยาบาลเมืองสงขลามีผู้เข้าอบรมจำนวน ๒๐ คน ประเมินความรู้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแล ระดับคะแนนความรู้ ร้อยละ ก่อนอบรม ๗๔.๔๑ หลังอบรม ๙๐
    สรุปแบบประเมินความพึงพอใจของการอบรม หัวข้อประเมิน มากที่สุด มาก ปานกลาง จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ ๑.เนื้อหาและหลักสูตรในการอบรม ๕ ๒๕ ๑๔ ๗๐ ๑ ๕ ๒.ความรู้ความสามารถของวิทยากร ๖ ๓๐ ๑๒ ๖๐ ๒ ๑๐ ๓.ระยะเวลาในการอบรม ๓ ๑๕ ๑๕ ๗๕ ๒ ๑๐ ๔.ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ๑๘ ๙๐ ๒ ๑๐ ๐ ๐ ๕.ความพอใจโดยภาพรวม ๑๙ ๙๕ ๑ ๕ ๐ ๐


    ๒.๒ กิจกรรมติดตามเด็ก ๐-๓ ปี ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์โดยเจ้าหน้าที่ จิตอาสา.แกนนำสุขภาพ
      จำนวน ๑๐ คน ติดตามทุก ๑ เดือน จำนวน ๖ เดือน       ติดตามครั้งที่ ๑ เดือนมิถุนายน       ติดตามครั้งที่ ๒ เดือนกรกฎาคม       ติดตามครั้งที่ ๓ เดือนสิงหาคม       ติดตามครั้งที่ ๔ เดือนกันยายน
          ติดตามครั้งที่ ๕ เดือนตุลาคม       ติดตามครั้งที่ ๖ เดือนพฤศจิกายน

        จากการติดตามทั้ง ๖ ครั้ง กลุ่มเป้าหมายทั้งหมดมีน้ำหนักดังนี้         เด็กน้ำหนัก เพิ่มขึ้น จำนวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๐         เด็กน้ำหนัก คงเดิม จำนวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐         เด็กน้ำหนัก น้อยลง จำนวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐


    กิจกรรมที่ ๓ งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ   ๓.๑ กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การตรวจเต้านมด้วยตนเองและการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก       ๖ ชุมชน จำนวน ๑๘๐ คน เริ่มกิจกรรมตั้งแต่วันที่ ๓๐ เมษายน – ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๒       ผลลัพธ์       สตรีอายุ ๓๐ -๗๐ ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ ร้อยละ ๙๕.๔๒       สตรีอายุ ๓๐ -๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ ๓๒.๕๗
    ๓.๒ กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงเพื่อป้องกันและเฝ้าระวัง       ผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ ติดตาม จำนวน ๓ ครั้ง ดังนี้       ครั้งที่ ๑. วันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๒       ครั้งที่ ๒. วันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒       ครั้งที่ ๓. วันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๒       ผลลัพธ์       กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ ร้อยละ ๘๙.๙๒       กลุ่มเสี่ยงสูงเป็นผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ ร้อยละ ๒.๒๘
    ๓.๓ กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชมรมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน ๓ ครั้ง ดังนี้       ครั้งที่ ๑. วันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๖๒
          ครั้งที่ ๒. วันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒       ครั้งที่ ๓. วันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๒

        ๓.๔ กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ SHG ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน ๖ ครั้ง ดังนี้       ครั้งที่ ๑. วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๖๒ ช่วงเช้าชุมชนดอนรัก       ครั้งที่ ๒. วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๖๒ ช่วงบ่ายชุมชนสวนหมาก       ครั้งที่ ๓. วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ช่วงเช้าชุมชนบ้านบน       ครั้งที่ ๔. วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ช่วงบ่ายชุมชนมัสยิดบ้านบน       ครั้งที่ ๕. วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ช่วงเช้าชุมชนโรงพยาบาลสงขลาเก่า       ครั้งที่ ๖. วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ช่วงบ่ายชุมชนเมืองเก่า
    ๓.๕ กิจกรรมประชุมเฝ้าระวังประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน จำนวน ๑๒๐ คน
          เริ่มกิจกรรมวันที่ ๓ – ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๒
        ๓.๖ กิจกรรมประชุมการเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน/ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในบ้าน จำนวน ๒ ครั้ง ดังนี้       ครั้งที่ ๑. วันที่ ๗ กันยายน ๒๕๖๒
          ครั้งที่ ๒. วันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๖๒

    กิจกรรมที่ ๔ งานผู้สูงอายุ   ๔.๑ กิจกรรมประชุมชมรมผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมสุขภาพของสมาชิก กิจกรรมสันทนาการ กิจกรรม       ออกกำลังกาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ การให้ความรู้ด้านสุขภาพ จำนวน ๖ ครั้ง ดังนี้       ครั้งที่ ๑. วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๖๒
          ครั้งที่ ๒. วันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๖๒
          ครั้งที่ ๓. วันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๖๒
          ครั้งที่ ๔. วันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒
          ครั้งที่ ๕. วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๒
          ครั้งที่ ๖. วันที่ ๖ กันยายน ๒๕๖๒
          กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุสัญจร (วัดพะโคะ) วันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๒

    ๔.๒ กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตโดยวิทยากร จำนวน ๒ ครั้ง ดังนี้       ครั้งที่ ๑. วันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒
          ครั้งที่ ๒. วันที่ ๖ กันยายน ๒๕๖๒

    กิจกรรมที่ ๕ งานควบคุมโรคติดต่อ   ๕.๑ กิจกรรมประชุมสำรวจ/กำจัดลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในชุมชน วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๒

    กิจกรรมที่ ๖ งานสุขาภิบาลอาหาร/คุ้มครองผู้บริโภค   ๖.๑ กิจกรรมตรวจประเมินร้านอาหาร/ร้านชำ วันที่ ๑๙ – ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๒

    กิจกรรมตรวจประเมินร้านอาหาร จำนวนร้านอาหารทั้งหมด จำนวนร้านอาหารที่ได้รับการประเมิน ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ หมายเหตุ ๑๒๕ ๒๘ ๒๒.๔ ๒๘ ๑๐๐ ผ่านเกณฑ์GFGT

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย
    ตัวชี้วัด : -ร้อยละ ๑๐๐ ของเด็กอายุ ๐-๓ ปี ไม่ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน -ร้อยละ ๙๐ ของเด็กอายุ ๐-๓ ปี มีภาวะโภชนาการ พัฒนาการสมวัย -ร้อยละ ๑๐๐ ของเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการได้รับการรักษา ส่งต่อ
    90.00

    -เด็กอายุ ๐-๓ ปี ไม่ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนร้อยละ ๑๐๐





    -เด็กอายุ ๐-๓ ปี มีภาวะโภชนาการสมวัยร้อยละ ๙๐
    มีภาวะโภชนาการบกพร่อง ๒ คนคิดเป็นร้อยละ ๑๐ (รายละเอียดดังตาราง) เด็กอายุ ๐-๓ ปี จำนวน ๒๐ คน น้ำหนักค่อนข้างมาก  ๐ คน ร้อยละ ๐ น้ำหนักมาก        ๐ คน ร้อยละ ๐ น้ำหนักค่อนข้างน้อย  ๒ คน ร้อยละ ๑๐ น้ำหนักน้อย        ๐ คน ร้อยละ ๐

    \n-เด็กอายุ ๐-๓ ปี มีพัฒนาการสมวัยร้อยละ ๖๒.๕ เด็กอายุ ๐-๓ ปี จำนวน ๒๐ คน พัฒนาการปกติ  ๑๙  คน ร้อยละ ๙๕ พัฒนาการล่าช้า    ๑  คน ร้อยละ ๕ ส่งต่อ          ๐ คน ร้อยละ ๐


    -เด็กที่พัฒนาการล่าช้าไม่มีการส่งต่อแต่ได้รับการกระตุ้นติดตามพัฒนาการอย่างต่อเนื่องและมีพัฒนาการดีขึ้น

    2 ๒. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : -อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ ๑๐ จากค่ามัธยฐาน๕ปีย้อนหลัง -โรงเรียน/ชุมชนสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ ร้อยละ ๘๕ -อัตราป่วยโรคติดต่อลดลง
    0.00

    -ตั้งแต่เดือนเมษายน – กันยายน ๒๕๖๒ มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบจำนวน ๔ ราย -ประชาชนและผู้นำชุมชนมีความร่วมมือในการรณรงค์เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรค -ประชาชนมีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคเพิ่มขึ้นโดยสังเกตจากการขอรับทราย ทีมีฟอสเพิ่มมากขึ้น


    -อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ ๒๕

    ตารางแสดงจำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๓ ปี ย้อนหลัง ปี ๒๕๖๐ ปี ๒๕๖๑      ปี ๒๕๖๒ จำนวนผู้ป่วย ๑๖ ราย จำนวนผู้ป่วย ๔ ราย จำนวนผู้ป่วย ๗ ราย อัตราป่วย ๑๘๘.๒ ต่อแสนประชากร อัตราป่วย ๕๐.๖๔ ต่อแสนประชากร อัตราป่วย ๘๗.๒๖ ต่อแสนประชากร คิดเป็นร้อยละ ๐.๑๘ คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๕ คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๘

    ตารางแสดงค่า HI CI จำแนกรายชุมชน ชุมชน เดือน
    เม.ย พ.ค. มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย HI CI HI CI HI CI HI CI HI CI HI CI ๑.ชุมชนบ้านบน ๒๐.๑ ๘.๖ ๔๗.๘ ๕.๒๔ ๒๘.๕ ๔.๓ ๓๐.๐ ๓.๗ ๓๒.๘ ๔.๗ ๓๖.๘ ๗.๒ ๒.ชุมชนดอนรัก ๓๑.๕ ๔.๙ ๓๖.๘ ๔.๕ ๓๔.๔ ๖.๗ ๓๑.๖ ๖.๐ ๒๐.๖ ๕.๓ ๒๐.๙ ๕.๕ ๓.ชุมชนเมืองเก่า ๒๙.๕ ๕.๓ ๒๕.๘ ๑๗.๐ ๒๘.๘ ๗.๗ ๒๕.๐ ๓.๙ ๒๐.๐ ๕.๑ ๒๕.๐ ๗.๒ ๔.ชุมชนมัสยิดบ้านบน ๑๙.๖ ๒.๕ ๓๕.๓ ๓.๕ ๒๓.๐ ๔.๙ ๑๖.๔ ๓.๗ ๒๖.๕ ๓.๑ ๒๕.๕ ๒.๓ ๕.ชุมชนสวนหมาก ๔๙.๐ ๔.๕ ๒๙.๐ ๕.๑ ๒๙.๔ ๕.๗ ๒๑.๔ ๖.๖ ๑๓.๗ ๗.๒ ๑๘.๗ ๖.๒ ๖.ชุมชนรพ.สงขลาเก่า ๒๖.๒ ๑๑.๒ ๑๑.๒ ๔.๙ ๓๐.๐ ๑๐.๒ ๒๕.๐ ๑๑.๙ ๑๗.๗ ๗.๓ ๑๗.๗ ๗.๐

    3 ๓. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : -ร้อยละ๘๐ ของกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังเกิดเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ -กลุ่มโรคเรื้อรังเบาหวานความดันที่รับการรักษาที่ PCU ได้รับการดูแลตามมาตรฐานเฉพาะโรค ร้อยละ ๙๐ -ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนน้อยกว่าร้อยละ ๕ -ร้อยละ ๘๐ ของสตรีอายุ ๓๐-๗๐ ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ -ร้อยละ ๒๐ ของสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
    0.00

    -ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งในการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกเดือน


    -สมาชิกมีสุขภาพกายและจิตอยู่ในระดับดีร้อยละ ๘๖.๒๓

    4 ๔. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
    ตัวชี้วัด : -ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งในการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกเดือน -สมาชิกมีสุขภาพกายและจิตอยู่ในระดับดีมากกว่าร้อยละ ๗๐
    0.00

    -กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเรื้อรังได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ร้อยละ ๘๙.๙๒ -กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเรื้อรังเกิดเป็นผู้ป่วยรายใหม่ร้อยละ ๒.๒๘


    -สตรีอายุ ๓๐-๗๐ ปีสามารถตรวจเต้านมด้วยตัวเองได้ร้อยละ ๙๕.๔๒

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 406 461
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 406 461
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย (2) ๒. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (3) ๓. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ (4) ๔. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคเชิงรุกสู่ชุมชน ทุกกลุ่มวัย พื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง ในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L7250-01-13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( (นางลักษณา หวัดเพ็ชร) ตำแหน่ง หัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด