โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว ”
ตำบลเขาไม้แก้ว อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไม้แก้ว
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว
ที่อยู่ ตำบลเขาไม้แก้ว อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1522-3-002 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไม้แก้ว อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไม้แก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไม้แก้ว อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1522-3-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไม้แก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กปฐมวัย คือ เด็กที่มีอายุ 2 - 5 ปี การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยมีความสำคัญอย่างมากเนื่องจากเด็กวัยนี้ต้องการ
เรียนรู้ ในสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้าน จากบิดา มารดา คนรอบข้างและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่ง
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ผลให้เกิดพัฒนาการที่เป็นรากฐานของ บุคลิกภาพ อุปนิสัย และการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและจิตใจ สมอง สติปัญญา
ความสามารถ การอบรมปลูกฝังสร้างเสริมพัฒนาการทุกด้านให้แก่เด็กปฐมวัยได้เจริญเติบโตเต็มศักยภาพในช่วงอายุนี้ จะเป็นรากฐานที่ดีที่จะให้เขาเติบโตเป็นเยาวชนและพลเมืองที่ดี เฉลียวฉลาดคิดเป็น ทำเป็น และมีความสุข หากผู้ใหญ่ให้ความรักเอาใจใส่ใกล้ชิด อบรมเลี้ยงดูโดยความเข้าใจ เด็กก็พร้อม จะตอบสนองความต้องการพื้นฐานที่เปลี่ยนไปตามวัยที่เหมาะสมให้สมดุลกันทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สติปัญญา และสังคมแล้ว เด็กจะเติบโตแข็งแรงแจ่มใส มีความพร้อมที่จะพัฒนาตนเองในขั้นต่อไป ให้เป็นคนเก่งคนดีอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานศึกษาที่ให้การเตรียมความพร้อมแก่เด็กปฐมวัย เด็กก่อนวัยเรียนเป็นเด็กที่อยู่ในช่วงอายุ 2 - 5 ปี เป็นวัยที่ถือว่า “วัยหัวเลี้ยวหัวต่อ” ที่มีการเปลี่ยนแปลงจากวัยทารก ก้าวสู่ความพร้อมในการที่จะเรียนรู้ สังคมที่กว้างออกไปจากครอบครัว เราจึงควรเข้าใจในพัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็ก เช่น ด้านร่างกายด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสติปัญญา และด้านสังคม รวมทั้งการส่งเสริมพัฒนาการให้ถูกวิธี มีการจัดประสบการณ์ที่หลากหลายทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน อันจะช่วยให้เด็ก เกิดการเจริญเติบโต และมีพัฒนาการอย่างเหมาะสม เด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 5 ปี เป็นช่วงสำคัญช่วงหนึ่งของชีวิตที่สมองมีการเจริญเติบโตมากกว่าทุก ๆช่วงอายุ และเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสำหรับการปูพื้นฐานทักษะต่างๆ ให้เด็กได้พัฒนาการเรียนรู้ ซึ่งถือเป็นแนวคิดด้านหนึ่ง ของการจัดการศึกษาปฐมวัย และการเรียนนั้นเราไม่จำเป็นต้องเรียนในห้องเรียนเสมอไปเด็กจะต้องได้รับประสบการณ์จากสถานที่จริงบ้าง นอกเหนือจากพ่อแม่ ผู้ปกครองแล้ว ครู หรือ ผู้ดูแลเด็กถือเป็นบุคคลที่สำคัญ เป็นครูคนแรกที่ช่วยอบรมสั่งสอนและจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาตามวัยและเตรียมความพร้อมแก่เด็กปฐมวัยเพื่อเข้าสู่ระบบการศึกษาและสังคมในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามคู่มือการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แก่ผู้ปกครองครู และผู้ดูแลเด็ก
- 2 เพื่อส่งเสริมทักษะการดำเนินการคัดกรองและเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่ผู้ปกครอง
- 3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้วัตกรรมระดับปฐมวัยจากแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
- 4 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่สมวัย มีความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) และ (EQ)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองและเด็ก และครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ค่าป้ายไวนิล จำนวน 1 ป้าย
วันที่ 19 กรกฎาคม 2560 เวลา 12:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ป้ายไวนิล จำนวน 1 แผ่น
40
40
2. ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง
วันที่ 19 กรกฎาคม 2560 เวลา 12.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วิทยากรบรรยายให้ความรู้ จำนวน 3 ชั่วโมง
40
40
3. ค่าอาหารว่าง จำนวน 40 ชุด ๆ ละ 25 บาท
วันที่ 19 กรกฎาคม 2560 เวลา 12:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ค่าอาหารสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 40 ชุด ๆละ 25 บาท
40
40
4. ค่าวัสดุและอุปกรณ์
วันที่ 19 กรกฎาคม 2560 เวลา 12:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้วัสดุและอุปกรณ์สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
40
40
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามคู่มือการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แก่ผู้ปกครองครู และผู้ดูแลเด็ก
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครอง ครู และผู้ดูแลเด็ก ร้อยละ 80 ได้รับความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามคู่มือการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)
2
2 เพื่อส่งเสริมทักษะการดำเนินการคัดกรองและเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่ผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยครู และผู้ดูแลเด็ก ร้อยละ 80มีทักษะการดำเนินการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่ ในกิจกรรมสาธิตการคัดกรองและการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย ผ่านกระบวนการการฝึกทักษะแก่เด็กปฐมวัย ตามเครื่องมือชี้วัดตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ( DSPM )
3
3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้วัตกรรมระดับปฐมวัยจากแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
ตัวชี้วัด : 1.เด็กปฐมวัย ร้อยละ 80 ได้เรียนรู้นวัตกรรมระดับปฐมวัยจากแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา
4
4 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่สมวัย มีความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) และ (EQ)
ตัวชี้วัด : 1.เด็กปฐมวัย ร้อยละ 80 มีพัฒนาการที่สมวัย มีความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) และความฉลาดทางอารมณ์ (EQ)
5
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามคู่มือการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แก่ผู้ปกครองครู และผู้ดูแลเด็ก (2) 2 เพื่อส่งเสริมทักษะการดำเนินการคัดกรองและเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่ผู้ปกครอง (3) 3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้วัตกรรมระดับปฐมวัยจากแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ (4) 4 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่สมวัย มีความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) และ (EQ) (5)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1522-3-002
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว ”
ตำบลเขาไม้แก้ว อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลเขาไม้แก้ว อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1522-3-002 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไม้แก้ว อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไม้แก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไม้แก้ว อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1522-3-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไม้แก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กปฐมวัย คือ เด็กที่มีอายุ 2 - 5 ปี การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยมีความสำคัญอย่างมากเนื่องจากเด็กวัยนี้ต้องการ
เรียนรู้ ในสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้าน จากบิดา มารดา คนรอบข้างและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่ง
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ผลให้เกิดพัฒนาการที่เป็นรากฐานของ บุคลิกภาพ อุปนิสัย และการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและจิตใจ สมอง สติปัญญา
ความสามารถ การอบรมปลูกฝังสร้างเสริมพัฒนาการทุกด้านให้แก่เด็กปฐมวัยได้เจริญเติบโตเต็มศักยภาพในช่วงอายุนี้ จะเป็นรากฐานที่ดีที่จะให้เขาเติบโตเป็นเยาวชนและพลเมืองที่ดี เฉลียวฉลาดคิดเป็น ทำเป็น และมีความสุข หากผู้ใหญ่ให้ความรักเอาใจใส่ใกล้ชิด อบรมเลี้ยงดูโดยความเข้าใจ เด็กก็พร้อม จะตอบสนองความต้องการพื้นฐานที่เปลี่ยนไปตามวัยที่เหมาะสมให้สมดุลกันทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สติปัญญา และสังคมแล้ว เด็กจะเติบโตแข็งแรงแจ่มใส มีความพร้อมที่จะพัฒนาตนเองในขั้นต่อไป ให้เป็นคนเก่งคนดีอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานศึกษาที่ให้การเตรียมความพร้อมแก่เด็กปฐมวัย เด็กก่อนวัยเรียนเป็นเด็กที่อยู่ในช่วงอายุ 2 - 5 ปี เป็นวัยที่ถือว่า “วัยหัวเลี้ยวหัวต่อ” ที่มีการเปลี่ยนแปลงจากวัยทารก ก้าวสู่ความพร้อมในการที่จะเรียนรู้ สังคมที่กว้างออกไปจากครอบครัว เราจึงควรเข้าใจในพัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็ก เช่น ด้านร่างกายด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสติปัญญา และด้านสังคม รวมทั้งการส่งเสริมพัฒนาการให้ถูกวิธี มีการจัดประสบการณ์ที่หลากหลายทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน อันจะช่วยให้เด็ก เกิดการเจริญเติบโต และมีพัฒนาการอย่างเหมาะสม เด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 5 ปี เป็นช่วงสำคัญช่วงหนึ่งของชีวิตที่สมองมีการเจริญเติบโตมากกว่าทุก ๆช่วงอายุ และเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสำหรับการปูพื้นฐานทักษะต่างๆ ให้เด็กได้พัฒนาการเรียนรู้ ซึ่งถือเป็นแนวคิดด้านหนึ่ง ของการจัดการศึกษาปฐมวัย และการเรียนนั้นเราไม่จำเป็นต้องเรียนในห้องเรียนเสมอไปเด็กจะต้องได้รับประสบการณ์จากสถานที่จริงบ้าง นอกเหนือจากพ่อแม่ ผู้ปกครองแล้ว ครู หรือ ผู้ดูแลเด็กถือเป็นบุคคลที่สำคัญ เป็นครูคนแรกที่ช่วยอบรมสั่งสอนและจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาตามวัยและเตรียมความพร้อมแก่เด็กปฐมวัยเพื่อเข้าสู่ระบบการศึกษาและสังคมในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามคู่มือการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แก่ผู้ปกครองครู และผู้ดูแลเด็ก
- 2 เพื่อส่งเสริมทักษะการดำเนินการคัดกรองและเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่ผู้ปกครอง
- 3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้วัตกรรมระดับปฐมวัยจากแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
- 4 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่สมวัย มีความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) และ (EQ)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองและเด็ก และครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ค่าป้ายไวนิล จำนวน 1 ป้าย |
||
วันที่ 19 กรกฎาคม 2560 เวลา 12:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ป้ายไวนิล จำนวน 1 แผ่น
|
40 | 40 |
2. ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง |
||
วันที่ 19 กรกฎาคม 2560 เวลา 12.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวิทยากรบรรยายให้ความรู้ จำนวน 3 ชั่วโมง
|
40 | 40 |
3. ค่าอาหารว่าง จำนวน 40 ชุด ๆ ละ 25 บาท |
||
วันที่ 19 กรกฎาคม 2560 เวลา 12:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นค่าอาหารสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 40 ชุด ๆละ 25 บาท
|
40 | 40 |
4. ค่าวัสดุและอุปกรณ์ |
||
วันที่ 19 กรกฎาคม 2560 เวลา 12:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้วัสดุและอุปกรณ์สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
|
40 | 40 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามคู่มือการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แก่ผู้ปกครองครู และผู้ดูแลเด็ก ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครอง ครู และผู้ดูแลเด็ก ร้อยละ 80 ได้รับความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามคู่มือการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) |
|
|||
2 | 2 เพื่อส่งเสริมทักษะการดำเนินการคัดกรองและเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่ผู้ปกครอง ตัวชี้วัด : 1.ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยครู และผู้ดูแลเด็ก ร้อยละ 80มีทักษะการดำเนินการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่ ในกิจกรรมสาธิตการคัดกรองและการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย ผ่านกระบวนการการฝึกทักษะแก่เด็กปฐมวัย ตามเครื่องมือชี้วัดตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ( DSPM ) |
|
|||
3 | 3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้วัตกรรมระดับปฐมวัยจากแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ ตัวชี้วัด : 1.เด็กปฐมวัย ร้อยละ 80 ได้เรียนรู้นวัตกรรมระดับปฐมวัยจากแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา |
|
|||
4 | 4 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่สมวัย มีความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) และ (EQ) ตัวชี้วัด : 1.เด็กปฐมวัย ร้อยละ 80 มีพัฒนาการที่สมวัย มีความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) และความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) |
|
|||
5 | ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามคู่มือการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แก่ผู้ปกครองครู และผู้ดูแลเด็ก (2) 2 เพื่อส่งเสริมทักษะการดำเนินการคัดกรองและเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่ผู้ปกครอง (3) 3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้วัตกรรมระดับปฐมวัยจากแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ (4) 4 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่สมวัย มีความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) และ (EQ) (5)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L1522-3-002
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางค้างคาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......