กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน


“ ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเรื้อรังและประชาชนทั่วไป ”

ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางศุภลักษณา เพชรย้อย

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเรื้อรังและประชาชนทั่วไป

ที่อยู่ ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3310-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเรื้อรังและประชาชนทั่วไป จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาชัยสน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเรื้อรังและประชาชนทั่วไป



บทคัดย่อ

ปัจจุบันโรคเรื้อรังเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขไทยโดยเฉพาะเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งในแต่ละปีจะต้องมีการใช้จ่ายในการรักษาโรคเรื้อรังเหล่านี้เป็นจานวนมาก ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยแล้วก็จะต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอพบแพทย์ตามนัด รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการออกกาลังกาย การรับประทานอาหาร การจัดการด้านอารมณ์ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังของระบบต่อมไร้ท่อที่พบได้บ่อยและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของหลายประเทศและอัตราความชุกของโรคมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้และ มีปัจจัยสนับสนุนด้านพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม การขาดการออกกาลังกาย ภาวะเครียด ประกอบกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ช่วยให้คนมีชีวิตยืนยาวขึ้น ความผิดปกติที่เท้าเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญอย่างหนึ่งที่เกิดจากการเสื่อมของเส้นประสาทและหลอดเลือด ทำให้อัตราความเร็วในการนำสัญญาณประสาทลดลง ความไวของผิวหนังต่อการรับรู้สัมผัสลดลงหรือหายไป ซึ่งการเสื่อมของหลอดเลือดและเส้นประสาทมักปรากฏอาการมากที่เท้า ทำให้การรับรู้ความรู้สึกบริเวณเท้าลดลง เกิดอาการชาเมื่อผู้ป่วยเดินสะดุดของแข็งหรือเหยียบของมีคมจึงไม่รู้สึกตัว เกิดเป็นแผลง่าย นอกจากนี้ยังทำให้เลือดไปเลี้ยงเท้าน้อยลง เกิดการขาดเลือดกลายเป็นเนื้อตายได้เมื่อเกิดการติดเชื้อที่แผลขึ้นร่วมกับการที่ผู้ป่วยไม่ได้ดูแลใส่ใจเท้าเป็นพิเศษ ทำให้ผู้ป่วยเบาหวานมีโอกาสถูกตัดขาได้เนื่องจากเกิดแผลเนื้อตายที่เท้ามากกว่าคนปกติถึง 40 เท่า แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่๑๑ ได้มุ่งเน้นระบบสุขภาพแบบพอเพียงส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยตนเองโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การบำบัดรักษาความเจ็บป่วยด้วยการแพทย์แผนไทย    ซึ่งการแพทย์แผนไทยเป็นกรรมวิธีทางภูมิปัญญาที่อิงความเป็นธรรมชาติ และสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทย อีกทั้งยังเป็นการรักษาความเจ็บป่วยแบบองค์รวมเป็นอีกทางเลือกหนึ่งด้านสุขภาพที่ประชาชนสามารถดูแลป้องกันตัวเองได้ ทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคการรักษาพยาบาลการฟื้นฟูสมรรถภาพ และการเฝ้าระวังโรคในการบำบัดรักษาโรคด้วยการแพทย์แผนไทยได้ใช้วิธีการอย่างหลากหลาย เพื่อให้ได้ผลการรักษาทั้งทางร่างกายและจิตใจ เช่น การใช้ธรรมชาติบำบัด ,การใช้สมุนไพรในท้องถิ่น,การใช้พิธีกรรมความเชื่อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทาน การดื่มน้ำ เป็นต้น แพทย์ทางเลือกเป็นอีกทางหนึ่งที่ให้การดูแลสุขภาพในผู้ป่วยโรคเรื้อรังควบคู่ไปกับการแพทย์แผนปัจจุบัน ทำให้มีประสิทธิภาพในการรักษาความเจ็บป่วยและเป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันที่มากเกินความจำเป็นในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รวมทั้งผู้ป่วยสามารถนำกลับไปปฏิบัติใช้ที่บ้านเพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้
      ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลานช้าง ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการแช่เท้าสมุนไพรในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ขึ้นเพื่อให้การดูแล ส่งเสริม ฟื้นฟู สุขภาพของผู้ป่วยและเพิ่มทางเลือกในการดูแลสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เป็นการเฝ้าระวังการดูแลเท้าด้วยตนเองด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) .กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางเท้าที่มีระดับเสี่ยงปานกลางและ เสี่ยงสูงที่มารับยาที่ รพ.สต.บ้านลานช้าง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ป่วยจำนวน 60 คน กิจกรรมที่ 2 : อบรมและให้ความรู้กลุ่ม อสม. จำนวน 50 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคเรื้อรังเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขไทยโดยเฉพาะเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งในแต่ละปีจะต้องมีการใช้จ่ายในการรักษาโรคเรื้อรังเหล่านี้เป็นจานวนมาก ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยแล้วก็จะต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอพบแพทย์ตามนัด รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการออกกาลังกาย การรับประทานอาหาร การจัดการด้านอารมณ์ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังของระบบต่อมไร้ท่อที่พบได้บ่อยและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของหลายประเทศและอัตราความชุกของโรคมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้และมีปัจจัยสนับสนุนด้านพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม การขาดการออกกาลังกาย ภาวะเครียด ประกอบกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ช่วยให้คนมีชีวิตยืนยาวขึ้น ความผิดปกติที่เท้าเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญอย่างหนึ่งที่เกิดจากการเสื่อมของเส้นประสาทและหลอดเลือด ทำให้อัตราความเร็วในการนำสัญญาณประสาทลดลง ความไวของผิวหนังต่อการรับรู้สัมผัสลดลงหรือหายไป ซึ่งการเสื่อมของหลอดเลือดและเส้นประสาทมักปรากฏอาการมากที่เท้า ทำให้การรับรู้ความรู้สึกบริเวณเท้าลดลง เกิดอาการชาเมื่อผู้ป่วยเดินสะดุดของแข็งหรือเหยียบของมีคมจึงไม่รู้สึกตัว เกิดเป็นแผลง่าย นอกจากนี้ยังทำให้เลือดไปเลี้ยงเท้าน้อยลง เกิดการขาดเลือดกลายเป็นเนื้อตายได้เมื่อเกิดการติดเชื้อที่แผลขึ้นร่วมกับการที่ผู้ป่วยไม่ได้ดูแลใส่ใจเท้าเป็นพิเศษ ทำให้ผู้ป่วยเบาหวานมีโอกาสถูกตัดขาได้เนื่องจากเกิดแผลเนื้อตายที่เท้ามากกว่าคนปกติถึง 40 เท่า แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่๑๑ ได้มุ่งเน้นระบบสุขภาพแบบพอเพียงส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยตนเองโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การบำบัดรักษาความเจ็บป่วยด้วยการแพทย์แผนไทย ซึ่งการแพทย์แผนไทยเป็นกรรมวิธีทางภูมิปัญญาที่อิงความเป็นธรรมชาติ และสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทย อีกทั้งยังเป็นการรักษาความเจ็บป่วยแบบองค์รวมเป็นอีกทางเลือกหนึ่งด้านสุขภาพที่ประชาชนสามารถดูแลป้องกันตัวเองได้ ทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคการรักษาพยาบาลการฟื้นฟูสมรรถภาพ และการเฝ้าระวังโรคในการบำบัดรักษาโรคด้วยการแพทย์แผนไทยได้ใช้วิธีการอย่างหลากหลาย เพื่อให้ได้ผลการรักษาทั้งทางร่างกายและจิตใจ เช่น การใช้ธรรมชาติบำบัด ,การใช้สมุนไพรในท้องถิ่น,การใช้พิธีกรรมความเชื่อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทาน การดื่มน้ำ เป็นต้น แพทย์ทางเลือกเป็นอีกทางหนึ่งที่ให้การดูแลสุขภาพในผู้ป่วยโรคเรื้อรังควบคู่ไปกับการแพทย์แผนปัจจุบัน ทำให้มีประสิทธิภาพในการรักษาความเจ็บป่วยและเป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันที่มากเกินความจำเป็นในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รวมทั้งผู้ป่วยสามารถนำกลับไปปฏิบัติใช้ที่บ้านเพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลานช้าง ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุงได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการแช่เท้าสมุนไพรในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ขึ้นเพื่อให้การดูแล ส่งเสริม ฟื้นฟู สุขภาพของผู้ป่วยและเพิ่มทางเลือกในการดูแลสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เป็นการเฝ้าระวังการดูแลเท้าด้วยตนเองด้วยศาสตร์แพทย์แผนไ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. .กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางเท้าที่มีระดับเสี่ยงปานกลางและ เสี่ยงสูงที่มารับยาที่ รพ.สต.บ้านลานช้าง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ป่วยจำนวน 60 คน กิจกรรมที่ 2 : อบรมและให้ความรู้กลุ่ม อสม. จำนวน 50 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยเบาหวานมีอาการชาลดลง ร้อยละ 80 2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจเท้า ร้อยละ 80 3.สอบถามแบบประเมินหลังการทำกิจกรรมกับผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องการดูแลเท้าเบื้องต้น คิดเป็นร้อยละ 80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางเท้าที่มีระดับเสี่ยงปานกลางและ เสี่ยงสูงที่มารับยาที่ รพ.สต.บ้านลานช้าง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 .กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางเท้าที่มีระดับเสี่ยงปานกลางและ เสี่ยงสูงที่มารับยาที่ รพ.สต.บ้านลานช้าง
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยเบาหวานมีอาการชาลดลง ร้อยละ 80 2.ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจเท้า ร้อยละ 80 3.สอบถามแบบประเมินหลังการทำกิจกรรมกับผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องการดูแลเท้าเบื้องต้น คิดเป็นร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

ปัจจุบันโรคเรื้อรังเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขไทยโดยเฉพาะเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งในแต่ละปีจะต้องมีการใช้จ่ายในการรักษาโรคเรื้อรังเหล่านี้เป็นจานวนมาก ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยแล้วก็จะต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอพบแพทย์ตามนัด รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการออกกาลังกาย การรับประทานอาหาร การจัดการด้านอารมณ์ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังของระบบต่อมไร้ท่อที่พบได้บ่อยและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของหลายประเทศและอัตราความชุกของโรคมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้และ มีปัจจัยสนับสนุนด้านพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม การขาดการออกกาลังกาย ภาวะเครียด ประกอบกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ช่วยให้คนมีชีวิตยืนยาวขึ้น ความผิดปกติที่เท้าเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญอย่างหนึ่งที่เกิดจากการเสื่อมของเส้นประสาทและหลอดเลือด ทำให้อัตราความเร็วในการนำสัญญาณประสาทลดลง ความไวของผิวหนังต่อการรับรู้สัมผัสลดลงหรือหายไป ซึ่งการเสื่อมของหลอดเลือดและเส้นประสาทมักปรากฏอาการมากที่เท้า ทำให้การรับรู้ความรู้สึกบริเวณเท้าลดลง เกิดอาการชาเมื่อผู้ป่วยเดินสะดุดของแข็งหรือเหยียบของมีคมจึงไม่รู้สึกตัว เกิดเป็นแผลง่าย นอกจากนี้ยังทำให้เลือดไปเลี้ยงเท้าน้อยลง เกิดการขาดเลือดกลายเป็นเนื้อตายได้เมื่อเกิดการติดเชื้อที่แผลขึ้นร่วมกับการที่ผู้ป่วยไม่ได้ดูแลใส่ใจเท้าเป็นพิเศษ ทำให้ผู้ป่วยเบาหวานมีโอกาสถูกตัดขาได้เนื่องจากเกิดแผลเนื้อตายที่เท้ามากกว่าคนปกติถึง 40 เท่า แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่๑๑ ได้มุ่งเน้นระบบสุขภาพแบบพอเพียงส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยตนเองโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การบำบัดรักษาความเจ็บป่วยด้วยการแพทย์แผนไทย    ซึ่งการแพทย์แผนไทยเป็นกรรมวิธีทางภูมิปัญญาที่อิงความเป็นธรรมชาติ และสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทย อีกทั้งยังเป็นการรักษาความเจ็บป่วยแบบองค์รวมเป็นอีกทางเลือกหนึ่งด้านสุขภาพที่ประชาชนสามารถดูแลป้องกันตัวเองได้ ทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคการรักษาพยาบาลการฟื้นฟูสมรรถภาพ และการเฝ้าระวังโรคในการบำบัดรักษาโรคด้วยการแพทย์แผนไทยได้ใช้วิธีการอย่างหลากหลาย เพื่อให้ได้ผลการรักษาทั้งทางร่างกายและจิตใจ เช่น การใช้ธรรมชาติบำบัด ,การใช้สมุนไพรในท้องถิ่น,การใช้พิธีกรรมความเชื่อ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทาน การดื่มน้ำ เป็นต้น แพทย์ทางเลือกเป็นอีกทางหนึ่งที่ให้การดูแลสุขภาพในผู้ป่วยโรคเรื้อรังควบคู่ไปกับการแพทย์แผนปัจจุบัน ทำให้มีประสิทธิภาพในการรักษาความเจ็บป่วยและเป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันที่มากเกินความจำเป็นในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รวมทั้งผู้ป่วยสามารถนำกลับไปปฏิบัติใช้ที่บ้านเพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้
      ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลานช้าง ตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการแช่เท้าสมุนไพรในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ขึ้นเพื่อให้การดูแล ส่งเสริม ฟื้นฟู สุขภาพของผู้ป่วยและเพิ่มทางเลือกในการดูแลสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เป็นการเฝ้าระวังการดูแลเท้าด้วยตนเองด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) .กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางเท้าที่มีระดับเสี่ยงปานกลางและ เสี่ยงสูงที่มารับยาที่ รพ.สต.บ้านลานช้าง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 : กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ป่วยจำนวน 60 คน กิจกรรมที่ 2 : อบรมและให้ความรู้กลุ่ม อสม. จำนวน 50 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเรื้อรังและประชาชนทั่วไป

รหัสโครงการ 2562-L3310-1-04 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2562 - 30 ธันวาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเรื้อรังและประชาชนทั่วไป จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3310-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศุภลักษณา เพชรย้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด