กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคักรองภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กปฐมวัยและเด็กนักเรียนในเขตเทศบาลตำบลอ่าวพะยูน ปีงบประมาณ 2562(5/2562)
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลปากพะยูน
วันที่อนุมัติ 29 มีนาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2562
งบประมาณ 10,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจีระวรรณ์ รอดพูล
พี่เลี้ยงโครงการ นายกำพล เศรษฐสุข
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 26 ก.ย. 2562 26 ก.ย. 2562 9,545.00
รวมงบประมาณ 9,545.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (9,545.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (10,500.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โลหิตจางจากการขาดธาตุ เป็นปัญหาสาธารณสขที่สำคัฐของประเทศไทย เนื่องจากมีผลกระทบต่อประชาชนไทยในทุกกลุ่มวัย ได้แก่ เด็กปฐมวัย เด็กวัยเรียน หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ ผู้ที่ขาดธาตุเหล็กในระยะแรกจะไม่มีอาการที่ชัดเจน ต่อเมื่อขาดธาตุเหล็กเป็นระยะเวลานาน การขาดธาตุเหล็กเป็นเวลา

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เด็กปฐมวัย และเด็กวัยเรียน ที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบลอ่าวพะยูน ได้รับการตรวจจัดกรองภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก

1.ร้อยละ 90 ของเด็กปฐมวัย และเด็กนักเรียน ที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบลอ่าวพะยูน ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก

1.00
2 2.เพื่อให้เด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียนที่มีภาวะโลหิตจาง (ระดับ ฮีมาโตคริต < 33% ) ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ เพื่อรับการตรวจเพิ่มเติม และรับการรักษาที่ถูกต้อง

2.ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัยและเด็กนักเรียนที่มีภาวะโลหิตจาง (ระดับ ฮีมาโตคริต < 33 % ) ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ เพื่อรับการตรวจเพิ่มเติม และรับการรักษาที่ถูกต้อง

1.00
3 3.เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็กและเด็กวัยเรียน ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ตามชุดสิทธิประโยชน์ที่จะต้องได้รับ

3.ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัยได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก สัปดาห์ละ 1 ครั้ง

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 470 9,545.00 0 0.00
26 ก.ย. 62 เจาะเลือดจากปลายนิ้วกลุ่มเป้าหมายทุกคน เพื่อตรวจหาระดับฮีมาโตคริต ในภาคเรียนที่ 1 และจ่ายยาเสริมธาตุเหล็กให้แก่กลุ่มปกติตามแนวทางการจ่ายยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก 470 9,545.00 -

1.จัดทำโครงการเพื่อขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการและขออนุมัติ 2.จัดทำฐานข้อมูลเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน 3.เจาะเลือดจากปลายนิ้วกลุ่มเป้าหมายทุกคน เพื่อตรวจหาระดับฮีมาโตคริต ในภาคเรียนที่ 1 4.จัดทำทะเบียนรายชื่อกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มปกติ โดยกลุ่มเสี่ยง คือกลุ่มที่มีระดับฮีมาโตคริต < 33% และกลุ่มปกติ คือกลุ่มที่มีระดับฮีมาโตคริต >33 % 5.จ่ายยาเสริมธาตุเหล็กให้แก่กลุ่มปกติ 6.ติดตามผลการรักษาของแพทย์ และติดตามผลระดับความเข้มข้นของเลือด ในรายที่ส่งพบแพทย์

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ลดอัตราการเกิดภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กวัยเรียน 2.นักเรียนทุกคนได้รับการเฝ้าระวังการเกิดภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 เม.ย. 2562 14:29 น.