กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากู


“ โครงการป้องกันโรคด้วยการเข้าสุนัต ประจำปี 2562 ”

ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปากู

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคด้วยการเข้าสุนัต ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L2988-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 เมษายน 2562 ถึง 24 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันโรคด้วยการเข้าสุนัต ประจำปี 2562 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคด้วยการเข้าสุนัต ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันโรคด้วยการเข้าสุนัต ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L2988-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 เมษายน 2562 - 24 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 74,775.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเข้าสุนัต (คิตาน) ความเป็นมาและผลแห่งการเข้าสุนัตเกี่ยวกับการทำความสะอาดร่างกายที่ต้องตัด ตบแต่ง เพื่อขจัดความสกปรกและเหตุผลทางการแพทย์เกี่ยวหับเรื่องนี้ ท่านนบีมุฮัมมัด ศ็อล ฯได้ให้โอวาทไว้ดังนี้.... “ธรรมชาติ 5 สิ่ง (ในกายมนุษย์) ที่ต้องได้รับการตบแต่ง คือ การเข้าสุนัต ขจัดขนในร่มฟ้า ตัดเล็บ และการแต่งหนวดเครา”     การเข้าสุนัต การตัดหนัง หุ้มปลายอวัยวะสืบพันธุ์ของชาย ภาษาอาหรับเรียก “คิตาน” ทางการแพทย์เรียกว่า “เซอร์คัมซัสซัน” หมายถึงการศัลยกรรมที่ทำการตัดหนังหุ้มหลวมๆ อยู่ตอนปลายอวัยวะสืบพันธุ์ของชาย หนังนี้ทางการแพทย์เรียกว่า “พรีพิวส์” คนไทยเข้าใจและเรียกว่า เข้าสุนัต, เข้าสุนัต,ความมุ่งหมายอันสำคัญในเรื่องนี้ เพื่อความสะอาดเป็นสำคัญ     ความประสงค์อิสลามสอนให้มุสลิมเข้าสุนัตเพื่อความสะอาดเป็นประการสำคัญ และขจัดสิ่งสกปรกที่จะทำให้เกิดโรค ท่านศาสดามุฮัมมัดศ็อลฯ กล่าวอิสลามสอนให้มนุษย์ทำการภักดีต่ออัลลอฮฺ (ซบ.) ด้วยความ สะอาด จิตบริสุทธิ์ การตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธุ์ของชายเป็นส่วนหนึ่งของการรักษาความสะอาด หากหนัง หุ้มนั้นยังปกคลุมอยู่ ส่วนวัตถุที่คล้ายเนยแข็งซึ่งขับถ่ายออกมาโดยผิวหนังของบริเวณปลายอวัยวะสืบพันธุ์ที่เรียกว่า “ เสมกม่า ” ก็จะหมักหมมอยู่ การเข้าสุนัตเป็นการขจัดสิ่งนี้โดยวิธีที่ดีที่สุด อีกประการหนึ่งเพื่อป้องกันน้ำปัสสาวะค้างอยู่ซึ่งเป็นสิ่งสกปรกมีกลิ่นยากแก่การทำความสะอาด การเข้าสุนัตในด้านการแพทย์ให้ความเห็นว่า สุนัตเป็นมาตรการที่มีความสำคัญในทางสุขวิทยาเป็นอย่างมาก แพทย์บางท่านเห็นว่าสมัยนี้ในสุขวิทยาเจริญมากว่าแต่ก่อนสมควรให้มีการเข้าสุนัต และแนะนำให้เด็กที่เกิดมาทุกคนได้รับการเข้าสุนัต โดยให้เหตุผลว่า “ในรายที่เด็กมีหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธุ์แคบและตึงมากไม่สามารถจะดึงให้หุ้มได้หมด ในรายที่มีหนังหุ้มยาวมากเกินควร จนขังน้ำปัสสาวะซึ่งอาจจะเป็นสาเหตุให้เกิดโรคขึ้นได้ ถ้าชำระความสะอาดทำได้ไม่สะดวก ในรายที่หนังหุ้มแคบมาก “ ไพโมซิส ” ซึ่งทำให้เจ็บปวดเมื่อแข็งตัว และปัสสาวะลำบากแก้ไขได้โดยการเข้าสุนัต ” ผู้เชี่ยวชาญทางโรคมะเร็งค้นพบว่าการเป็นโรคมะเร็งของอวัยวะสืบพันธุ์ของชายจะมีอัตราสูงในชายจะมีอัตราสูงในชายที่ไม่ได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธุ์ และเกี่ยวกับเรื่องนี้แพทย์ยังค้นไม่พบสาเหตุว่า ทำไมจึงเป็นเช่นนี้ เกี่ยวกับโรคมะเร็งที่อวัยวะสืบพันธุ์ ศจ.นพ.วิโรจน์  สุวรรณสุทธิ์ ให้ข้อสังเกต ไว้ว่า     การตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธุ์ชายเป็นศัลยกรรมเล็ก และทำได้ง่ายดายมาก แต่ต้องทำด้วยเทคนิคที่ระมัดระวังในเรื่องความสะอาดเป็นพิเศษเพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน จึงมีความจำเป็นต้องให้ผู้มีความรู้ความชำนาญและถูกสุขอนามัยมาเป็นผู้กระทำการเข้าสุนัต อายุที่จัดว่าเหมาะสมที่สุดในการเข้าสุนัตนั้นคือ ขณะที่อยู่ ในวัยทารกตั้งแต่อายุ 1 ขวบ บางแห่งถือความสมบูรณ์ของเด็กเป็นเกณฑ์ ทางอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปากู ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค จึงได้จัดโครงการป้องกันโรคด้วยการเข้าสุนัตขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกๆปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา, ประโยชน์และความสำคัญของการเข้าสุนัต 2. เพื่อให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเข้าสุนัต และรณรงค์สร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ 3. เพื่อทำขลิปหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในเขตตำบลปากู เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก 4. เพื่อสืบสานและยึดถือปฏิบัติตามแนวทางศาสนาอิสลาม และเป็นการร่วมมือร่วมใจของประชาชนในตำบลปากู 5. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำสุนัต สามารถลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด ภาวะแทรกซ้อน และการติดเชื้อ รวมทั้งสร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ชุมชนในการป้องกันโรคติดเชื้อ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา, ประโยชน์และความสำคัญของการเข้าสุนัต 2. เพื่อให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเข้าสุนัต และรณรงค์สร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ 3. เพื่อทำขลิปหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในเขตตำบลปากู เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก 4. เพื่อสืบสานและยึดถือปฏิบัติตามแนวทางศาสนาอิสลาม และเป็นการร่วมมือร่วมใจของประชาชนในตำบลปากู 5. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำสุนัต สามารถลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด ภาวะแทรกซ้อน และการติดเชื้อ รวมทั้งสร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ชุมชนในการป้องกันโรคติดเชื้อ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา, ประโยชน์และความสำคัญของการเข้าสุนัต  2. เพื่อให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเข้าสุนัต และรณรงค์สร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ 3. เพื่อทำขลิปหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมในเขตตำบลปากู เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก 4. เพื่อสืบสานและยึดถือปฏิบัติตามแนวทางศาสนาอิสลาม และเป็นการร่วมมือร่วมใจของประชาชนในตำบลปากู 5. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในจังหวัดชายแดนใต้สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันโรคด้วยการเข้าสุนัต ประจำปี 2562 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L2988-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปากู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด