กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการสถานศึกษาปลอดยาเสพติด (โรงเรียนวัดเทพาไพโรจน์) ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอารีย์ จันทร์ทอง

ชื่อโครงการ โครงการสถานศึกษาปลอดยาเสพติด (โรงเรียนวัดเทพาไพโรจน์)

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8287-2-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสถานศึกษาปลอดยาเสพติด (โรงเรียนวัดเทพาไพโรจน์) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสถานศึกษาปลอดยาเสพติด (โรงเรียนวัดเทพาไพโรจน์)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสถานศึกษาปลอดยาเสพติด (โรงเรียนวัดเทพาไพโรจน์) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L8287-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการมอบหมายให้สถานศึกษาทุกแห่ง ดำเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข เพื่อการพัฒนาเยาวชนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เป็นคนที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ มีคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ห่างไกลจากยาเสพติด สื่อลามกอนาจาร เกมออนไลน์ การพนัน และการทะเลาะวิวาท ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่สังคมไม่ยอมรับ ถือเป็นกลยุทธ์ที่สำคัญ  โดยการดำเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ได้ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง โดยใช้แนวคิดและหลักการ “๔ ประสาน ๒ ค้ำ” ซึ่ง ๔ ประสาน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู/อาจารย์ นักเรียน/นักศึกษา และผู้ปกครอง  ในส่วนของ ๒ ค้ำ ได้แก่ ตำรวจ/ทหาร และผู้นำท้องถิ่น/ผู้นำศาสนา และเพื่อให้สถานศึกษามีระบบการป้องกันที่เข้มแข็งและยั่งยืนจึงให้มีการดำเนินงาน ๕ มาตรการ ได้แก่ มาตรการป้องกัน มาตรการค้นหา มาตรการรักษา มาตรการเฝ้าระวัง มาตรการบริหารจัดการ และกลยุทธ์ ๔ ต้อง ๒ ไม่ คือ ต้องมียุทธศาสตร์ ต้องมีแผนงาน ต้องมีระบบข้อมูล ต้องมีเครือข่าย และ ๒ ไม่ คือ ไม่ปกปิดข้อมูล ไม่ไล่ออก เป็นแนวทางการดำเนินงาน โรงเรียนวัดเทพาไพโรจน์ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นที่ทางโรงเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายจะต้องร่วมมือกันในการส่งเสริมสนับสนุน และหาแนวทางให้นักเรียนทุกคนปลอดภัยจากสิ่งเสพติดและอบายมุข จึงได้ดำเนินงานโครงการสถานศึกษาปลอดยาเสพติดขึ้น ซึ่งได้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก องค์การบริหารส่วนตำบลเทพา ในการดำเนินโครงการดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด
  2. เพื่อให้นักเรียนปลอดจากยาเสพติด
  3. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการเรียนรู้และสอดส่องดูแลนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ห้องเรียนสีขาว
  2. กิจกรรมบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน
  3. กิจกรรมกีฬาสัมพันธ์ต้านยาเสพติด
  4. 1. กิจกรรมค่ายเด็กดีปลอดยาเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 86
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด 2.นักเรียน ปลอดจากยาเสพติดและไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  2. ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในส่งเสริมการเรียนรู้ และช่วยสอดส่องดูแลพฤติกรรมของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมค่ายเด็กดีปลอดยาเสพติด

วันที่ 19 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดค่ายอบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้  มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด

 

36 0

2. กิจกรรมกีฬาสัมพันธ์ต้านยาเสพติด

วันที่ 19 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนร่วมเล่นกีฬาสันทนาการกลุ่มเพื่อสานสัมพันธ์อันดีต่อกัน 1 วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนสามัคคี
นักเรียนร่างกายแข็งแรง

 

86 0

3. ห้องเรียนสีขาว

วันที่ 24 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดห้องเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มี 1  แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน

 

36 0

4. กิจกรรมบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน

วันที่ 25 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำสื่อการเรียนการสอนในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สื่อการเรียนเรื่องยาเสพติดทุกห้องเรียน

 

36 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ100 ของนักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด
100.00 100.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนปลอดจากยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ100 ของนักเรียน ปลอดจากยาเสพติดและไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
100.00 100.00

 

3 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการเรียนรู้และสอดส่องดูแลนักเรียน
ตัวชี้วัด : ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในส่งเสริมการเรียนรู้ และช่วยสอดส่องดูแลพฤติกรรมของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 86 86
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 86 86
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความรู้  ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด (2) เพื่อให้นักเรียนปลอดจากยาเสพติด (3) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการเรียนรู้และสอดส่องดูแลนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ห้องเรียนสีขาว (2) กิจกรรมบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน (3) กิจกรรมกีฬาสัมพันธ์ต้านยาเสพติด (4) 1. กิจกรรมค่ายเด็กดีปลอดยาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสถานศึกษาปลอดยาเสพติด (โรงเรียนวัดเทพาไพโรจน์) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8287-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอารีย์ จันทร์ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด