กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ


“ โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสัมพันธ์ มณีรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5282-2-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

(1) กลุ่มเป้าหมายอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

(2) ผู้ป่วยรายใหม่ที่ได้จากการตรวจคัดกรองได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

  1. ประชุมแกนนำสุขภาพ( อสม.) และผู้ที่เกี่ยวข้องชี้แจงการดำเนินโครงการ

  2. จัดทำทะเบียนรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๑๕ ปีขึ้นไป (ม.1,ม.4,ม.6,ม.7, และ ม.9)

  3. ลงพื้นที่ รณรงค์คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้าหมายการคัดกรอง และแจ้งผลการคัดกรอง

  4. กรณีพบกลุ่มเสี่ยงเกิดโรคเบาหวานหรือ โรคความดันโลหิตสูง รายงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอุใดเจริญ และส่งต่อเพื่อการดูแลรักษาที่ถูกต้องต่อไป

  5. จัดกิจกรรมรณรงค์ อบรมให้ความรู้ การป้องกันโรคด้วยหลัก ๓ อ. ๒ ส.

  6. ติดตามกลุ่มเป้าหมายด้วยการเจาะเลือด วัดความดันโลหิต ซ้ำ ทุก ๓ เดือน

  7. ประเมินผล และสรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ

  • ได้รับการพึงพอใจจากประชากรกลุ่มเป้าหมายมากที่สุดและทุกคนได้รู้ภาวะสุขภาพของตนเองเบื้องต้น ได้ปฏิบัติตัวป้องกันโรคที่ถูกต้อง

  • ประชาชนอยากให้มีการตรวจคัดกรองทุกปีอย่างต่อเนื่อง

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันอัตราการป่วยของโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้นทุกปีโดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จากสถานการณ์ของโรคในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ มีผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ๒๑๒ คน จากการตรวจคัดกรองในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ มีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มจำนวนเป็น ๒๓๒ คน เพิ่มขึ้น ๒๑ คน โรคเหล่านี้อัตราการป่วยค่อนข้างสูง เมื่อคัดกรองโรคจำนวนมากขึ้นทำให้พบผู้ป่วยมากขึ้นด้วย สาเหตุการเกิดโรคส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม และจะพบมากในคนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ส่วนน้อยที่เกิดจากกรรมพันธุ์ ซึ่งโรคไม่ติดต่อเหล่านี้สามารถป้องกันได้หากมีการค้นพบผู้ป่วยได้เร็วรับการรักษาอย่างทันท่วงทีและมีความรู้การดูแลตนเองอย่างถูกต้องและเหมาะสม ดังนั้นทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอุใดเจริญได้เล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองค้นหาผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อดังกล่าวโดยให้อาสาสมัครสาธารณสุขจัดรณรงค์ตรวจคัดกรองให้กับกลุ่มเป้าหมายในประชากรอายุตั้งแต่ ๑๕ ปีขึ้นไปทุกคนในเขตรับผิดชอบซึ่งกลวิธีดังกล่าวจะช่วยลดจำนวนผู้ป่วยลงและกลุ่มเริ่มป่วยสามารถได้รับการรักษาที่ถูกต้องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. กลุ่มเป้าหมายอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. ผู้ป่วยรายใหม่ที่ได้จากการตรวจคัดกรองได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชุมแกนนำสุขภาพ( อสม.) และผู้ที่เกี่ยวข้องชี้แจงการดำเนินโครงการ
  2. 2.จัดทำทะเบียนรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๑๕ ปีขึ้นไป (ม.1,ม.4,ม.6,ม.7, และ ม.9)
  3. 3. ลงพื้นที่ รณรงค์คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้าหมายการคัดกรอง และแจ้งผลการคัดกรอง
  4. 6.กรณีพบกลุ่มเสี่ยงเกิดโรคเบาหวานหรือ โรคความดันโลหิตสูง รายงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอุใดเจริญ และส่งต่อเพื่อการดูแลรักษาที่ถูกต้องต่อไป
  5. 5. ติดตามกลุ่มเป้าหมายด้วยการเจาะเลือด วัดความดันโลหิต ซ้ำ ทุก ๓ เดือน
  6. 4.จัดกิจกรรมรณรงค์ อบรมให้ความรู้ การป้องกันโรคด้วยหลัก ๓ อ. ๒ ส.
  7. 7.ประเมินผล และสรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,204
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. กลุ่มเป้าหมายอายุ ๑๕ ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองร้อยละ ๙๐

๒. ผู้ป่วยรายใหม่ที่ได้จากการตรวจคัดกรองได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง

๓. ครอบครัว ชุมชน และสังคม มีความตระหนักในเรื่องโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ประชุมแกนนำสุขภาพ( อสม.) และผู้ที่เกี่ยวข้องชี้แจงการดำเนินโครงการ

วันที่ 3 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแกนนำสุขภาพ( อสม.) และผู้ที่เกี่ยวข้องชี้แจงการดำเนินโครงการ - ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน 675 บาท - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 85 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2125 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมแกนนำสุขภาพ( อสม.) และผู้ที่เกี่ยวข้องชี้แจงการดำเนินโครงการ

 

86 0

2. 3. ลงพื้นที่ รณรงค์คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้าหมายการคัดกรอง และแจ้งผลการคัดกรอง

วันที่ 30 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ ขนาด ๑.๐ x ๒.๐ เมตร ผืนละ ๓๐๐ บาท จำนวน ๕ ผืนเป็นเงิน ๑,๕๐๐ บาท
  • ค่าเครื่องวัดความดันโลหิต จำนวน ๒ เครื่องๆละ ๒,๕๐๐ บาทเป็นเงิน ๕,๐๐๐ บาท
  • ค่าเครื่องเจาะน้ำตาลในเลือดจำนวน ๒ เครื่องๆละ ๒,๒๐๐ บาท เป็นเงิน ๔,๔๐๐ บาท
  • ค่าแถบตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน ๒,๒๐๔ ชิ้นๆละ ๑๔ บาท ๓๐,๘๕๖ บาท
  • ค่าเข็มสำหรับเจาะเลือด จำนวน ๒,๒๐๔ ชิ้นๆละ ๓.๗๕ บาท เป็นเงิน ๘,๒๖๕ บาท
  • ค่าสำลีก้อน ขนาด ๕๐๐ กรัม/ถุง ๆละ ๑๖๐ บาท จำนวน ๒ ถุง เป็นเงิน๓๒๐ บาท
  • ค่าสำลีแอลกอฮอล์ (ปริมาณ ๘๐๐ ก้อน/กล่อง) จำนวน ๒ กล่องๆละ ๑,๒๐๐ บาท เป็นเงิน ๒,๔๐๐บาท
  • ค่าแบบคัดกรองจำนวน ๒,๒๐๔ ใบๆละ ๐.๕๐ บาทเป็นเงิน ๑,๑๐๒ บาท
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม สำหรับคณะทำงานคัดกรอง จำนวนรวม๘๖ คนๆละ ๒๕ บาท เป็นเงิน2125บาท แยกเป็นหมู่ ดังนี้ หมู่ที่ ๑ อสม. ๑๔ คน หมู่ที่ ๔ อสม. ๑๗ คน หมู่ที่ ๖ อสม. ๑๖ คน หมู่ที่ ๗ อสม. ๒๔ คน หมู่ที่ ๙ อสม. ๑๔ คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลงพื้นที่ รณรงค์คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้าหมายการคัดกรอง และแจ้งผลการคัดกรอง

 

0 0

3. 4.จัดกิจกรรมรณรงค์ อบรมให้ความรู้ การป้องกันโรคด้วยหลัก ๓ อ. ๒ ส.

วันที่ 30 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

โดยการคัดเลือกกลุ่มเสี่ยงหมู่ละ ๓๐ คน จำนวน ๕ หมู่ รวม ๑๕๐ คน

  • ค่าตอบแทนวิทยากร วันละ ๒ ชั่วโมงๆละ ๕๐๐ บาท จำนวน ๕ วัน (หมู่ละวัน)  เป็นเงิน ๕,๐๐๐บาท

  • ค่าเอกสารความรู้พร้อมอุปกรณ์ จำนวน ๑๕๐ ชุดๆละ ๕๐ บาท เป็นเงิน  ๗,๕๐๐ บาท

  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน ๑๕๐ คนๆละ ๒๕ บาท เป็นเงิน ๓,๗๕๐ บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมรณรงค์ อบรมให้ความรู้ การป้องกันโรคด้วยหลัก ๓ อ. ๒ ส.

 

150 0

4. 5. ติดตามกลุ่มเป้าหมายด้วยการเจาะเลือด วัดความดันโลหิต ซ้ำ ทุก ๓ เดือน

วันที่ 7 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เช่น แถบน้ำตาล เข็มเจาะเลือด เป็นเงิน 2000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามกลุ่มเป้าหมายด้วยการเจาะเลือด วัดความดันโลหิต ซ้ำ ทุก ๓ เดือน

 

0 0

5. 2.จัดทำทะเบียนรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๑๕ ปีขึ้นไป (ม.1,ม.4,ม.6,ม.7, และ ม.9)

วันที่ 7 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดซื้อค่าวัสดุ อุปกรณ์ เช่น ปากกา สมุดปกน้ำเงิน เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดทำทะเบียนรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๑๕ ปีขึ้นไป (ม.1,ม.4,ม.6,ม.7, และ ม.9)

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอรายงานผลการดำเนินงานโครงการ ตามบันทึกข้อตกลงการรับเงินอุดหนุนลงวันที่ 24 มิถุนายน 2562 ได้เริ่มดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2562 และเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2562

  2. ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอส่งสำเนาเอกสารใบเสร็จรับเงินหรือเอกสารหลักฐานอื่น จำนวน .... ฉบับ จำนวนเงิน 77,518 บาท ของการดำเนินการตามโครงการที่ได้รับเงินอุดหนุนมาพร้อมหนังสือนี้เพื่อให้หน่วยงายที่เกี่ยวข้องตรวจสอบต่อไป

  3. ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ

  • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้ตรวจคัดกรองความดันโลหิต และน้ำตาลในเลือดจำนวน 2160 คน จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2204 คน คิดเป้น 98 เปอร์เซ็น

  • กลุ่มปกติในการตรวจคัดกรอง จำนวน 1634 คน คิดเป็น 75.65 เปอร์เซ็น

  • พบกลุ่มเสี่ยงที่จะเป็นโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน จำนวน 526 คน คิดเป็น 24.35 เปอร์เซ็น

  • พบกลุ่มเป็นโรคส่งต่อโรงพยาบาลเพื่อรับการวินิจฉัยและการรักษา จำนวน 15 คน คิดเป็น 0.69 เปอร์เซ็น

  • ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่ได้จากการตรวจคัดกรองจำนวน 526 คน ได้เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2 ส. เพื่อป้องกันไม่ให้เป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน คิดเป็น 100 เปอร์เซ็น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 กลุ่มเป้าหมายอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ ของกลุ่มเป้าหมายอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
0.00 2,160.00

ประชากร อายุ 15 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิต และน้ำตาลในเลือด จำนวน 2,160 คน คิดเป็น 98 เปอร์เซ็น

2 ผู้ป่วยรายใหม่ที่ได้จากการตรวจคัดกรองได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาที่ถูกต้อง
0.00 1,634.00

กลุ่มปกติในการตรวจคัดกรอง จำนวน 1,634 คน คิดเป็น 75.65 เปอร์เซ็น

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2204 2160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,204 2,160
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

(1) กลุ่มเป้าหมายอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

(2) ผู้ป่วยรายใหม่ที่ได้จากการตรวจคัดกรองได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

  1. ประชุมแกนนำสุขภาพ( อสม.) และผู้ที่เกี่ยวข้องชี้แจงการดำเนินโครงการ

  2. จัดทำทะเบียนรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๑๕ ปีขึ้นไป (ม.1,ม.4,ม.6,ม.7, และ ม.9)

  3. ลงพื้นที่ รณรงค์คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้าหมายการคัดกรอง และแจ้งผลการคัดกรอง

  4. กรณีพบกลุ่มเสี่ยงเกิดโรคเบาหวานหรือ โรคความดันโลหิตสูง รายงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอุใดเจริญ และส่งต่อเพื่อการดูแลรักษาที่ถูกต้องต่อไป

  5. จัดกิจกรรมรณรงค์ อบรมให้ความรู้ การป้องกันโรคด้วยหลัก ๓ อ. ๒ ส.

  6. ติดตามกลุ่มเป้าหมายด้วยการเจาะเลือด วัดความดันโลหิต ซ้ำ ทุก ๓ เดือน

  7. ประเมินผล และสรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ

  • ได้รับการพึงพอใจจากประชากรกลุ่มเป้าหมายมากที่สุดและทุกคนได้รู้ภาวะสุขภาพของตนเองเบื้องต้น ได้ปฏิบัติตัวป้องกันโรคที่ถูกต้อง

  • ประชาชนอยากให้มีการตรวจคัดกรองทุกปีอย่างต่อเนื่อง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2562

รหัสโครงการ 62-L5282-2-08 ระยะเวลาโครงการ 4 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5282-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสัมพันธ์ มณีรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด