กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ชาวหนองบัวรวมใจป้องกันภัยเด็กจมน้ำในชุมชน
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัว
วันที่อนุมัติ 21 กุมภาพันธ์ 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 13,850.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.978,99.731place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ , แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในการป้องกันเด็กจมน้ำ ประชาชน ชุมชน และหน่วยงานทุกภาคส่วนจำเป็นต้องร่วมมือกันดำเนินการในมาตรการต่างๆเพื่อให้ครอบคลุมปัจจัยเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดการจมน้ำ คือปัจจัยเสี่ยงทางด้านบุคคลและทางด้านสิ่งแวดล้อมเพราะการใช้มาตรการใดเพียงมาตราการหนึ่งจะไม่สามารถแก้ปัญหาเด็กจมน้ำได้ เนื่องจากเด็กแต่ละช่วงกลุ่มอายุมีมาตรการป้องกันที่ต่างกัน โดยเฉพาะชุมชน จากสถานการณ์เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ตกน้ำ/จมน้ำเสียชีวิต ตำบลหนองบัวตั้งแต่ปี 2557-2562 พบว่าข้อมูล 5 ปีย้อนหลัง พบว่าในปี 2558 เกิดเหตุเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ตกน้ำ/จมน้ำเสียชีวิต 1 ราย ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ทาง รพ.ส่งเสริมสุขภาพจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นมาตรการป้องกันเด็กจมน้ำเพื่อให้ครอบคลุมปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้ ก็จะสามารถช่วยป้องกันและลดปัญหาเด็กจมน้ำในชุมชนที่อาจเกิดขึ้นได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในเรื่องการป้องกันการจมน้ำในชุมชน

ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในเรื่องการป้องกันการจมน้ำในชุมชน

0.00
2 2. เพื่อให้ประชาชน มีความรู้มีทักษะและรู้จักการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการจมน้ำ

ร้อยละของเข้าร่วมอบรมมีทักษะที่ถูกต้องในการป้องกันการจมน้ำ

0.00
3 3. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดการจมน้ำ

ร้อยละของปัจจัยเสี่ยงต่อการจมน้ำลดลง

0.00
4 4. เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากการตกน้ำ

ไม่เกิน 8 ต่อประชากร

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 190 13,850.00 0 0.00
1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62 รณรงค์ติดป้ายประชาสัมพันะ์ 70 4,400.00 -
1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62 การให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กในชุมชน การสอนการปฐมพยาบาล/ CPRให้แก่ประชาชน 70 2,450.00 -
1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62 อบรมหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดในเด้กและประชาชน 50 7,000.00 -

1.เก็บรวบรวมข้อมูลเด็กจมน้ำในชุมชน 2.สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงทั้งหมดที่มีชุมชน 3.จัดประชุมชี้แจงแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกัน 4.ดำงานเงินตามแผนกิจกรรมที่กำหนดไว้ 5.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 6.สรุปผลการดำเนินและนำผลที่ได้ไปใช้ปรับปรุงแก้ไข

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เกิดการขยายผลการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำให้ครอบคลุมทุกมาตรการต่อเนื่อง และใช้ทรัพยากรในพื้นที่ รวมทั้งร่วมกันดำเนินงานในรูปแบบสหสาขา จึงเกิดกระบวนการดำเนินการป้องกัน การจมน้ำภายใต้ชื่อ ผู้ก่อการดี ขึ้น ซึ่งเป็นกลยุทะ์หลักในการช่วยแก้ปัญหาการจมน้ำของเด็กไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำทุกมาตรการในพื้นที่อย่างต่อเนื่องโดยใช้ความร่วมมือของสหสาขาและทรัพยากรในพื้นที่

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 เม.ย. 2562 14:19 น.