กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการรู้เร็วรู้ทันเพื่อการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมประจำปี 2560โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกยาง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน


“ โครงการรู้เร็วรู้ทันเพื่อการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมประจำปี 2560โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกยาง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ”

ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางวิภาวรรณ ศรีสังข์

ชื่อโครงการ โครงการรู้เร็วรู้ทันเพื่อการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมประจำปี 2560โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกยาง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2485-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้เร็วรู้ทันเพื่อการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมประจำปี 2560โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกยาง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้เร็วรู้ทันเพื่อการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมประจำปี 2560โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกยาง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้เร็วรู้ทันเพื่อการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมประจำปี 2560โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกยาง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2485-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,625.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการศึกษาพบว่า โรคมะเร็งเป็นปัญหาที่คุกคามสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะโรคมะเร็งปากมดลูกซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับแรกของสตรีไทย รองลงมาคือ โรคมะเร็งเต้านมสาเหตุที่ทำให้สตรีเป็นโรคมะเร็งมีหลายสาเหตุด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นกรรมพันธุ์ วิถีชีวิต การบริโภคและผู้ป่วยที่มารับการรักษาพยาบาลส่วนใหญ่มักจะมาเมื่ออยู่ในระยะที่รุนแรงยากต่อการรักษาแล้ว ส่งผลให้การรักษาไม่ได้ผลเท่าที่ควรและมีค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง องค์การอนามัยโลกประมาณการณ์ว่า ขณะนี้ทั่วโลกในทุก 2 นาทีจะมีผู้หญิงเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูก จำนวน 1 รายสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคมะเร็งปากมดลูก เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี (HPV: Human Papilloma Virus) หรือที่ชาวบ้านเรียกกว่าไวรัสหูดที่บริเวณอวัยวะเพศ โดยเฉพาะที่ปากมดลูก เมื่อติดเชื้อไวรัสชนิดนี้แล้ว จะค่อยๆ ก่อตัวเกิดความผิดปกติที่ปากมดลูก ไม่รู้สึกเจ็บปวด ระยะแรกจะไม่มีอาการ แต่เมื่อเป็นมะเร็งแล้ว จะมีอาการผิดปกติปรากฏ เช่น ประจำเดือนมามากผิดปกติ มีเลือดออกหลังหมดประจำเดือนแล้ว ตกขาวผิดปกติ มีกลิ่นเหม็น ลักษณะคล้ายหนอง อาจมีเลือดออกปนมาด้วย หากอยู่ในระยะลุกลามจะทำให้เกิดอาการขาบวมปวดหลังรุนแรง ปวดก้นกบและต้นขา ถ่ายอุจจาระและปัสสาวะเป็นเลือดทั้งนี้กลุ่มสตรีสามารถดูแลและป้องกันตนเองจากโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกตั้งแต่ระยะแรกได้ โดยการตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือนและตรวจมะเร็งปากมดลูกโดยการทำ Pap smear ทุก 5 ปี แต่จากการสำรวจการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีช่วงอายุ30 – 60 ปีของตำบลพร่อน ปีงบประมาณ 2558พบว่า สตรีรายใหม่ในรอบ 5 ปีได้รับการตรวจคัดน้อยมากเนื่องจากสาเหตุต่างๆ เช่น ความอาย มีความคิดว่าตนเองไม่ได้ป่วยหรือกลัวว่าเมื่อทราบว่าตนเองป่วยแล้วจะรับไม่ได้ ทำให้ร่างกายทรุด ป่วยหนักเร็วขึ้น ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกยางตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมและการป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกโรคให้กับสตรีกลุ่มเป้าหมาย และเพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ลดค่าใช้จ่ายในการักษาโรค ตลอดจนทรัพยากรที่จะต้องใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง จึงได้จัดทำโครงการรู้เร็วรู้ทันเพื่อการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปี2560 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกยางอำเภอตากใบจังหวัดนราธิวาส ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. 2. เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  3. 3.เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 225
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สตรีอายุ 30 – 60 ปี มีความรู้และตระหนักในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกมากขึ้น
    2. สตรีอายุ 30 – 60 ปี เข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกมากขึ้น
    3. สตรีอายุ 30 – 60 ปี ที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อและรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตราการเกิด โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะรุนแรงลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. รณรงค์ตรวจคัดกรองเชิงรุกและอบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่กลุ่มเป้าหมาย

    วันที่ 16 มิถุนายน 2560 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สตรีอายุ 30–60 ปี มีความรู้และตระหนักในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกมากขึ้นเพื่อลด
    อัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะรุนแรงลดลง

     

    225 225

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    สตรีอายุ 30–60 ปี มีความรู้และตระหนักในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกมากขึ้นเพื่อลด
    อัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะรุนแรงลดลง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
    ตัวชี้วัด : - สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก (รายใหม่) ร้อยละ 20 -สตรีที่ตรวจพบ ว่าผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100

     

    2 2. เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 225
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 225
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) 2. เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (3) 3.เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรู้เร็วรู้ทันเพื่อการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมประจำปี 2560โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกยาง อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2485-1-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวิภาวรรณ ศรีสังข์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด