กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย เฝ้าเตือนภัยร้านชำ พัฒนาตำบลปลอดโฟม
รหัสโครงการ 62-L5279-01-16
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ฯ ตำบลพะตง
วันที่อนุมัติ 11 กุมภาพันธ์ 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 23 เมษายน 2562 - 30 สิงหาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 สิงหาคม 2562
งบประมาณ 40,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุคนธ์ ชัยชนะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.837,100.558place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นพื้นที่เขตเมือง ที่มีความหลากหลายทางวัฒธรรม และซับซ้อนของประชากร มีสถานประกอบการ และสถานศึกษาที่หลายแห่ง จากข้อมูลพื้นฐาน ปี 2561 ของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ฯ ตำบลพะตง มีสถานศึกษาในเขต อบต. ส่งผลให้ปัญหาการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัยของประชาชนมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาการใช้เครื่องสำอางที่มีสลากปลอม สลากไม่ถูกต้อง ในกลุ่มวัยเรียน และกลุ่มวัยทำงาน การใช้ยาสมุนไพรประเภทยาลูกกลอนแก้อาการปวดเมื่อยที่วางขายในตลาดนัด หรือรถแร่ ซึ่งอาจมีสารปนเปื้อนประเภทสาร สเตียรอยด์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในระยะยาว และข้อมูลเสียงสะท้อนปัญหาจากครู และนักเรียนโรงเรียนมัธยม พบปัญหาสุขภาพของนักเรียนจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ตลอดจนข้อมูลจากเครือข่ายโรงงานอุตสาหกรรม ที่มีพนักงานเลือกใช้เครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัย รวมไปถึงการซื้อเครื่องสำอางที่วางขายในท้องตลาดโดยไม่มีฉลากครบถ้วน รวมถึงปัญหาพนักงานเลือกใช้กล่องโฟมจากร้านจำหน่ายอาหารที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เจ้าของร้านชำ มีความรู้และไม่จำหน่ายยาอันตราย 2.เพื่อให้หน่วยงานในตำบลเป็นแบบอย่างปลอดโฟม 3.เพื่อให้ร้านจำหน่ายอาหาร ไม่บรรจุกล่องโฟมให้ผู้บริโภค 4.เพื่อตรวจเบื้องต้นด้วย test kit ค้นหาสารห้ามใช้ สารปนเปื้อนและตรวจหายาฆ่าแมลงในเลือดของเกษตรกร

1.ร้อยละ 60 ร้านชำมีความรู้และไม่จำหน่ายยาอันตราย
2.ร้อยละ 90 หน่วยงานในตำบลเป็นแบบอย่างปลอดโฟม
3.ร้อยละ 100 ร้านจำหน่ายอาหาร ไม่บรรจุกล่องโฟมให้ผู้บริโภค
4.ร้อยละ 90 ประชาชนได้ตรวจเบื้องต้นด้วย test kit ค้นหาสารห้ามใช้ สารปนเปื้อนและตรวจหายาฆ่าแมลงในเลือดของเกษตรกร

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 40,700.00 0 0.00
24 เม.ย. 62 - 30 ส.ค. 62 โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย เฝ้าเตือนภัยร้านชำ พัฒนาตำบลปลอดโฟม 0 40,700.00 -
  1. ประชุมคณะกรรมการ เพื่อวางแผนการจัดทำโครงการ
  2. ประชาสัมพันธ์ ศูนย์แจ้งเตือนภัย เฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพตำบลพะตง เพื่อให้ อสม.และ ประชาชนทราบถึงการดำเนินงานศูนย์แจ้งเตือนภัย ฯ
  3. ออกเยี่ยมร้านชำ เพื่อให้คำแนะนำห้ามขายยาอันตราย ให้ความรู้ในการเลือกผลิตภัณฑ์ซื้อเพื่อให้ผู้บริโภคมีความปลอดภัยมากขึ้น
  4. สุ่มตรวจร้านจำหน่ายอาหารให้คำแนะนำเรื่องการใช้โฟมและภาชนะทดแทนโฟม
  5. ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไปด้วยป้ายโฟสเตอร์ ในเรื่องของการเตือนภัย เรื่องการใช้โฟมและอันตรายจากการใช้ยาชุด
  6. มีการตรวจเลือดประชาชนเพื่อค้นหาสารเคมีในกระแสเลือด กรณีมีสารเคมีในกระแสเลือด มีการส่งต่องานแพทย์แผนไทย เพื่อถอนสารเคมีจากยาสมุนไพร
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ร้านชำในพื้นที่ไม่จำหน่ายยาอันตราย และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัย
  2. ร้านจำหน่ายอาหาร ไม่ใช้โฟมบรรจุอาหารให้ผู้บริโภค
  3. ประชาชนในชุมชน ผู้บริโภค ตระหนักและเห็นความสำคัญและปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 เม.ย. 2562 16:08 น.