โครงการคลีนิกลดพุง (DPAC) ในพื้นที่หมู่ที่ 3,6,12 และหมู่ที่ 13 ตำบลชัยบุรี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมะกอกใต้
ชื่อโครงการ | โครงการคลีนิกลดพุง (DPAC) ในพื้นที่หมู่ที่ 3,6,12 และหมู่ที่ 13 ตำบลชัยบุรี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมะกอกใต้ |
รหัสโครงการ | 60-L3352-1-11 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สต.บ้านมะกอกใต้ |
วันที่อนุมัติ | 30 ธันวาคม 2559 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 8,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | รพ.สต.บ้านมะกอกใต้ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.697,100.093place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันคนไทยมีภาวะอ้วน และอ้วนลงพุงมากขึ้นจากพฤติกรรมบริโภคอาหารรสหวาน มัน เค็มเพิ่มขึ้น รับประทานผลไม้น้อยลง และขาดการออกกำลังกาย ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนที่มารับบริการในคลินิกลดพุง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสม ประชาชนที่มารับบริการในคลินิกลดพุง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างเหมาะ |
||
2 | เพื่อลดภาวะเสี่ยงโรคอ้วนลงพุง ลดภาวะเสี่ยงโรคอ้วนลงพุง |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.เสนอแผนงาน/โครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลชัยบุรี
2.อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ประชาชนที่เสี่ยงต่อภาวะอ้วนลงพุง รอบเอวผู้ชายเกิน ๙๐ เซนติเมตรผู้หญิงรอบเอวเกิน ๘๐ เซนติเมตร จำนวน ๓๐ คน
3.ติดตามภาวะการอ้วนลดพุงโดยการชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอวหลังจากการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทุก ๓ เดือน จำนวน ๓ ครั้ง
4.สรุปผลการดำเนินงาน และรายงานผลการดำเนินงาน และรายงานผลการดำเนินงานให้กองทุนฯ ทราบ
1.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถลดความอ้วน ลดพุงได้ โดยการประเมินผลจากการชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว จำนวน ๓ ครั้ง พบว่าลดลง
2.มีต้นแบบ/แกนนำในการถ่ายทอดความรุ้ที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความอ้วน ลดโรคแก่บุคคลในครัวเรือนได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 เม.ย. 2560 09:36 น.