กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชูมชน
รหัสโครงการ 62-L8286-02-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
วันที่อนุมัติ 25 เมษายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 25 มีนาคม 2562 - 31 ธันวาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 37,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนูรีฮัน มูนิ๊
พี่เลี้ยงโครงการ นายอาณัติ มานะรี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.769,101.299place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 “ ยา " แม้สามารถใช้รักษาทำให้หายป่วยและร่างกายรู้สึกดีขึ้นได้ แต่สิ่งสำคัญที่ควรตระหนักไว้เสมอคือ ยาทั้งหลายล้วนแล้วแต่มีอันตรายเฉกเช่นเดียวกับที่มีคุณประโยชน์ ฉะนั้น ทำอย่างไรจึงปลอดภัยจากการใช้ยา ปัจจุบันปัญหาการใช้ยาไม่สมเหตุสมผลของคนในชุมชนเป็นปัญหาท
2.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และผ็ป่วยโรคเรื้องรังเขตเทศบาลตำบลยะรัง มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้งยาปฎิชีวนะ ยาชุด และยาเสตียรอยด์ อย่างสมเหตุและสมผล

คนในชุมชนลดการใช้ยาปฏิชีวนะ ยาชุด และ สเตียรอยด์ที่ซื้อจากร้านชำ ร้อยละ 80

0.00
2 2. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และผู้ป่วยโรคเรื้อรังเขตเทศบาลตำบลยะรังร่วมกันเฝ้าระวัง ตรวจสอบแหล่งขายยาในชุมชน เช่น ร้านค้า ร้านชำ ร้านขายยา มิให้มีการลักลอบขายยาปฎิชีวนะและยาสเตียรอยด์

ร้านชำในชุมชนไม่มีการจำหน่ายยาอันตราย ยาปฏิชีวนะ และยาชุด ร้อยละ 90

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 115 37,000.00 4 37,000.00
19 ก.ย. 62 อบรมให้ความรู้ 30 8,250.00 8,250.00
20 ก.ย. 62 อบรมให้ความรู้ 80 14,000.00 14,000.00
9 - 18 ต.ค. 62 ตรวจเฝ้าระวังร้านชำจำหน่ายยาอันตราย ยาชุด และยาปฏิชีวนะ 5 3,150.00 3,150.00
30 ต.ค. 62 - 5 พ.ย. 62 ลงเยี่ยมติดตามการใช้ยาของผู้ป่วยติดเตียงและเรื้อรังในชุมชน ร่วมกับอสม. 0 11,600.00 11,600.00

ขั้นเตรียมการ - 1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติและขอสนับสนุนงบประมาณ - 2.ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง รับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในแนวเดียวกันต่อกลุ่มเป้าหมายในการขับเคลื่อนเพื่อเกิดการใช้ยาที่ปลอดภัยในชุมชน ชุมชน
ขั้นดำเนินงาน - จัดเตรียมเอกสารในการดำเนินงาน เอกสารในการประชุม เอกสารการอบรม - พัฒนาศักยภาพการใช้ยาในชุมชนโดยการจัดอบรมเพิ่มทักษะและความรู้เรื่องยาปฎิชีวนะ ยาชุดและยาสเตียรอยด์
- จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน - เฝ้าระวังและควบคุมแหล่งกระจายในชุมชนตรวจสอบแหล่งกระจ่ายยาที่มีการสะสมยาปฎิชีวนะและยาเตียรอยด์ (ร้านขายยา ร้านค้า ร้านชำ ในชุมชนทุกร้าน) ขั้นประเมินผล - สรุปผลการดำเนินงานแก่กลุ่มเป้าหมายและคณะทำงานที่เกี่ยวข้องและรายงานผลการดำเนินงาน
- ประเมินผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกิดเครือข่ายการเฝ้าระวังการใช้ยาในชุมชนโดยร่วมกันทุกภาคีเครือข่ายไม่ว่าจะเป็น อสม. ผู้นำชุมชน ผู้ประกอบการร้านขายยา ร้านค้า ร้านชำ และชาวบ้านมีการดำเนินงานที่ต่อเนื่องและยั่งยืน
  2. ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องรายการยาที่สามารถจำหน่ายในร้านชำได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 เม.ย. 2562 21:31 น.