กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศต่างๆทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยด้วย ซึ่งเกิดจากสภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนประชาชนมีการแข่งขันเพื่อจะสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น เร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรคเบาหวานก็เป็นโรคหนึ่งที่มีอุบัติการณ์การเกิดโรคที่เพิ่มขึ้น ต้องใช้งบประมาณในการรักษาจำนวนมาก ผู้ป่วยเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อนของโรคที่เกิดขึ้น ซึ่งภาวะแทรกซ้อนต่างๆสามารถป้องกันได้ ถ้าประชาชนในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยรายใหม่ได้รับความรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม     ปีงบประมาณ 2561 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยามีกลุ่มเป้าหมายประชากร 35 ปีขึ้นไป จำนวน 1,043 คน กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจากการคัดกรองจำนวน 123 คน กลุ่มสงสัยเป็นโรค 11 คน และผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน 12 คน เสียชีวิตจากโรคเบาหวาน 5 คน       จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานแยกเป็นรายหมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 จำนวน 70 คน หมู่ 9 จำนวน 70 คน และหมู่ 14 จำนวน 43 คน รวมทั้งหมด 183 คน ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนจำนวน 64 คน พบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน 12 คน ซึ่งถือว่าเป็นภาระหน้าที่ที่สำคัญของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยาที่จะต้องลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรค ให้กลับมาเป็นกลุ่มปกติให้มากที่สุด โดยใช้แนวทางตามปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการดำเนินงาน       โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยาได้ตระหนักถึงความสำคัญ และเป็นบทบาทหน้าที่ในการป้องกัน ควบคุมโรค และป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน จึงได้จัดทำโครงการเพื่อพัฒนางานขึ้นเสริมจากงานปกติ (งานเชิงรุก) โดยมีกลยุทธ์ กลวิธีที่มีลักษณะเฉพาะที่เน้นการให้ความรู้และส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เห็นในเชิงประจักษ์ เพื่อสร้างทักษะการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ส่งผลให้กลุ่มเสี่ยงไม่เป็นโรค กลุ่มป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ลดงบประมาณรายจ่ายของประเทศ ส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศโดยรวมดีขึ้นในโอกาสต่อไป

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลับมาเป็นกลุ่มปกติ (2) ข้อที่ 2เพื่อให้กลุ่มป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเบาหวานรายใหม่ สามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ