กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันไข้เลือดออก
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขารูปช้าง
วันที่อนุมัติ 8 กุมภาพันธ์ 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 24,230.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอาภรณ์ แสงทอง
พี่เลี้ยงโครงการ นาย ณัฎฐเกียรติ ชำนิธุระการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย ด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชนผ่านอาสาสมัครในชุมชน

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 24,230.00 0 0.00
15 ส.ค. 62 ค่าอาหารกลางวัน ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม 0 4,375.00 -
15 ส.ค. 62 ซื้อท่อบ่อ 30 ลูก 0 9,600.00 -
15 ส.ค. 62 ไวนิล โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันไข้เลือดออก 0 2,880.00 -
15 ส.ค. 62 เงินสนับสนุนค่าวิทยากร 0 1,200.00 -
15 ส.ค. 62 สมุดจดบันทึก ปากกาสีน้ำเงิน แฟ้มพลาสติก 0 600.00 -
22 ส.ค. 62 ค่าอาหารกลางวัน ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม 0 4,375.00 -
22 ส.ค. 62 เงินสนับสนุนวิทยากร 0 1,200.00 -
  1. ระยะเตรียมการ   1.1 จัดทำโครงการเสนอเพื่อขออนุมัติดำเนินโครงการ   1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตามโครงการและหน้าที่รับผิดชอบ   1.3 ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดพื้นที่เป้าหมายเนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ   - แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ   - ประชาสัมพันธ์โครงการและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง   1.4 ประชาสัมพันธ์โครงการให้กับอาสาสมัครสาธารณสุข และผู้นำชุมชน
  2. ระยะดำเนินการ   2.1 ประชุมชี้แจงแนวทางการควบคุมโรคไข้เลือดออกและการจัดการขยะในครัวเรือน และการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ชุมชน ทุกหมู่บ้านในที่ประชุมผู้นำชุมชน พร้อมคัดเลือกตัวแทนครอบครัวและอาสาสมัครที่ยินดีเลี้ยงปลาหางนกยูงเป็นแหล่งขยายพันธุ์ให้เข้าร่วมโครงการปรับปรุงให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน รวมถุงอาสาสมัครในการจัดการขยะและอาสาสมัครมิสเตอร์ไข้เลือดออก   2.2 จัดเตรียมสื่อในการจัดการขยะ เครื่องมือและอุปกรณ์ในการจัดการขยะเปียก (ด้วยการหมักในวงปูน) และการแยกขยะแห้งเพื่อการนำกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ การจัดเก็บและกำจัดด้วยการแยกประเภทขยะ และการแปรรูปขยะให้เป็นประโยชน์   2.3 แต่งตั้งคณะทำงาน อสม.และตัวแทนครัวเรือนหรือผู้นำที่สนใจและมีความสามารถในการทำงานด้านปรับปรุงสิ่งแวดล้อม และจัดประชุมเพื่อกำหนดแนวทางทำงานร่วมกัน   2.4 จัดอบรมให้ความรู้และหาแนวทางในการจัดการขยะและการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. และการจัดการขยะและการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้เหมาะสม ตามสื่อการสอนที่เตรียมไว้ในข้อ 2.2 แก้ผู้เข้าร่วมโครงการ และกำหนดแนวทางในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมของบ้านให้เหมาะสมระหว่างเจ้าของบ้านและคณะทำงาน เพื่อให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนได้   2.5 ตรวจประเมินบ้านจัดการขยะรอบที่ 2 เพื่อค้นหาข้อดีของการจัดการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมพร้อมจัดทำแบบประเมินความพึงพอใจของสมาชิกในครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการ และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย   2.6 ประชุมสัมพันธ์บ้านที่เข้าร่วมโครงการและสามารถเป็นบ้านจัดการขยะแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ผ่านหอกระจายข่าวของชุมชน และในที่ประชุม ระดับหมู่บ้านและตำบล   2.7 เปิดรับสมัครผู้ที่ยินดีเลี้ยงปลานกยูงเป็นแหล่งขยายพันธ์ุพร้อมการนำไปปล่อยตามแหล่งน้ำให้กับครัวเรือนที่เป็นเป้าหมายรับผิดชอบ   2.8 จัดอบรมการค้นหาแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย และการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายที่ถูกวิธี   2.9 ประกาศผลการจัดการขยะของอาสาสมัคร ผลการค้นหาแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายของมิสเตอร์ไข้เลือดออกประจำสัปดาห์ ทางหอกระจายข่าวแต่ละหมู่บ้าน ในตอนเช้าหรือเย็น ก่อนวันศุกร์บ่าย ซึ่งเป็นวันรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายประจำสัปดาห์   2.10 ประเมินผลการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปาดัง
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
  2. มีบ้านตัวอย่าง เป็นแหล่งเรียนรู้กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
  3. ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 เม.ย. 2562 11:47 น.