โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อเฝ้าระวังสภาวะสุขภาพจากสารเคมีในประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) ข้อที่ 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ที่มีระดับสารเคมีในเลือดระดับไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. เตรียมข้อมูลสถานะสุขภาพ กลุ่มเป้าหมายในการ คัดกรอง เอกสารการที่ฉีดพ่นยาฆ่าแมลงและ ประชาชนกลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป (2) 2. ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ พร้อมนัด วัน เวลาและสถานที่ในการตรวจหาสารเคมีกําจัด ศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเสี่ยง (3) 4. ดําเนินการตรวจหาสารเคมีกําจัดศัตรูพืชตกค้างใน กลุ่มเสียง (4) 3. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองการตรวจเลือด โดยใช้กระดาษทดสอบเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส (5) 5. จําแนกประชาชนที่ผลการตรวจพบระดับสารเคมี ในเลือด ออกเป็น 4 ระดับประกอบด้วย ระดับไม่ปลอดภัย ระดับเสียง ระดับปลอดภัย ระดับ ปกติ (6) 6. แจ้งผลการตรวจหาสารเคมีในเลือด ให้คําแนะนํา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีของเกษตรกร การเลือกบริโภคผักปลอดสารพิษ การล้างผักและ ผลไม้สดอย่างถูกวิธี (7) 7. ประชาชนที่ผลการตรวจพบระดับสารเคมีในเลือด ระดับไม่ปลอดภัยและเสียง แนะนําเข้าสู่กระบวนการ ขับสารพิษ คือการรับประทานชาซงรางจืด (8) 8. ประชาชนที่ผลการตรวจพบระดับสารเคมีในเลือด ระดับไม่ปลอดภัยและเสี่ยง ได้รับการตรวจหาสารเคมี กําจัดศัตรูพืชตกค้างซ้ำ (9) 9.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...