กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน


“ โครงการคนพิการยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพประจำปี 2560 ”

ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายชาติชาย แก้วเมฆ

ชื่อโครงการ โครงการคนพิการยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2485-2-14 เลขที่ข้อตกลง 14/60

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคนพิการยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพประจำปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคนพิการยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคนพิการยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2485-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 และแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2543 กำหนดให้ภารกิจด้านการจัดสวัสดิการสังคม เป็นภารกิจที่จะต้องถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลที่ให้ความสำคัญด้านสังคมและคุณภาพชีวิต ซึ่งเป็นหลักประกันด้านพื้นฐานของบริการสาธารณะ และอาศัยอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พศ.2537 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 67 (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการในตำบล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ และผู้พิการ ซึ่งผู้สูงอายุ และผู้พิการ สามารถทำคุณประโยชน์ต่อสังคมควบคู่ไปกับลูกหลานคนรุ่นหลังและเป็นแบบอย่างการใช้ชีวิตในอนาคตอย่างมีความสุข และเพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้พัฒนาระบบบริการและส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ และผู้พิการให้มีสุขภาพอนามัยและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เช่น มีระบบเฝ้าระวังสุขภาพ/สุขภาวะด้วยตนเองและครอบครัว การสร้างเครือข่ายการจัดบริการผู้สูงอายุ และผู้พิการ เพื่อให้ผู้สูงอายุ และผู้พิการเข้าถึงบริการด้านการแพทย์ตลอดทั้งปี ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุและผู้พิการ รวมทั้งผู้ด้อยโอกาส ซึ่งกลุ่มคนดังกล่าวบางคนยังแข็งแรงประกอบอาชีพได้ ในขณะที่บางคนมีโรคภัยไข้เจ็บมารบกวน เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น ซึ่งโรคภัยเหล่านี้ทำให้ไม่สามารถประกอบอาชีพหาเลี้ยงตนเองได้ นอกจากโรคต่างๆแล้ว ผู้สูงอายุและผู้พิการ รวมทั้งผู้ด้อยโอกาสบางคนยังถูกลูกหลานทอดทิ้งให้อยู่เพียงลำพัง ไม่มีใครสนใจดูแล ทำให้กลุ่มคนเหล่านี้มีโอกาสสูงที่จะเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งนับวันผู้สูงอายุ  ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสเหล่านี้จะมีเพิ่มมากขึ้น สถานสงเคราะห์คนชราต่างๆที่จัดตั้งขึ้นก็ไม่เพียงพอ และก็ไม่ใช่ทางออกที่ดีที่สุดในการช่วยเหลือทางออกที่ดีคือ ลูกหลานจะต้องหันมาเอาใจใส่ดูแลผู้สูงอายุ และผู้พิการในครอบครัวของตนเองให้มากขึ้น รวมทั้งชุมชนก็จะต้องให้ความช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ และผู้พิการในชุมชนของตนเองด้วย เช่นเดียวกัน     ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส  เป็นหน่วยงานหนึ่งที่เชื่อมโยงในด้านการดำเนินงานและเสริมสร้างเครือข่ายในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ,ผู้พิการ และประชาชนในเขตพื้นที่ เพื่อรณรงค์ให้ผู้สูงอายุและผู้พิการได้มีสุขภาพที่แข็งแรง และสุขภาพจิตที่ดี จึงได้จัดทำโครงการคนพิการยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2560 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้คนพิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง
  2. 2. เพื่อให้ศูนย์บริการคนพิการทั่วไป มีการดำเนินงานฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ อย่างต่อเนื่อง
  3. 3. เพื่อพัฒนาระบบบริการการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการของศูนย์บริการคนพิการทั่วไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพคนพิการ
  2. จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพแก่คนพิการ
  3. จัดกิจกรรมการประกวดนวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พร้อมการให้บริการในศูนย์บริการคนพิการทั่วไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 40
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ได้รับการตรวจสุขภาพ และคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน     2. สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุ และผู้พิการมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่าง       มีคุณค่า
        3. ผู้สูงอายุและผู้พิการได้ทำกิจกรรมร่วมกัน     4. ชุมชนและส่วนราชการมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพคนพิการ

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงและวางแผนการดำเนินโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง
  2. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพคนพิการโดยชมรมคนพิการทุก 2 เดือน เช่น ตรวจสุขภาพ ฝึกการบริหารกล้ามเนื้อ  ความรู้และสิทธิ  กิจกรรมสันทนาการ  เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนจากคนพิการตัวอย่าง
  3. ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่คนพิการในศูนย์บริการคนพิการทั่วไป ทุกสัปดาห์
  4. การส่งต่อคนพิการ           5. การส่งเสริมอาชีพแก่คนพิการ
              6. การเยี่ยมบ้านคนพิการ           7. การประกวดนวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์พื้นบ้าน
              8. สรุปและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ได้รับการตรวจสุขภาพ และคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน           2. สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุ และผู้พิการมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่าง               มีคุณค่า
              3. ผู้สูงอายุและผู้พิการได้ทำกิจกรรมร่วมกัน           4. ชุมชนและส่วนราชการมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ

 

40 0

2. จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพแก่คนพิการ

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงและวางแผนการดำเนินโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง
  2. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพคนพิการโดยชมรมคนพิการทุก 2 เดือน เช่น ตรวจสุขภาพ ฝึกการบริหารกล้ามเนื้อ  ความรู้และสิทธิ  กิจกรรมสันทนาการ  เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนจากคนพิการตัวอย่าง
  3. ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่คนพิการในศูนย์บริการคนพิการทั่วไป ทุกสัปดาห์
  4. การส่งต่อคนพิการ           5. การส่งเสริมอาชีพแก่คนพิการ
              6. การเยี่ยมบ้านคนพิการ           7. การประกวดนวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์พื้นบ้าน
              8. สรุปและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้พิการมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพและเป็นการเสริมสร้างอาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้กับผู้พิการ

 

40 0

3. จัดกิจกรรมการประกวดนวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พร้อมการให้บริการในศูนย์บริการคนพิการทั่วไป

วันที่ 25 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงและวางแผนการดำเนินโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง
  2. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพคนพิการโดยชมรมคนพิการทุก 2 เดือน เช่น ตรวจสุขภาพ ฝึกการบริหารกล้ามเนื้อ  ความรู้และสิทธิ  กิจกรรมสันทนาการ  เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนจากคนพิการตัวอย่าง
  3. ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่คนพิการในศูนย์บริการคนพิการทั่วไป ทุกสัปดาห์
  4. การส่งต่อคนพิการ           5. การส่งเสริมอาชีพแก่คนพิการ
              6. การเยี่ยมบ้านคนพิการ           7. การประกวดนวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์พื้นบ้าน
              8. สรุปและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้พิการได้ทำกิจกรรมร่วมกันพร้อมได้ออกกำลังกายและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการสร้างนวัตกรรมเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการภายในกลุ่ม

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้คนพิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : คนพิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100 และศูนย์บริการคนพิการทั่วไปมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

 

2 2. เพื่อให้ศูนย์บริการคนพิการทั่วไป มีการดำเนินงานฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อพัฒนาระบบบริการการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการของศูนย์บริการคนพิการทั่วไป
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 40
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้คนพิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง (2) 2. เพื่อให้ศูนย์บริการคนพิการทั่วไป มีการดำเนินงานฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ อย่างต่อเนื่อง (3) 3. เพื่อพัฒนาระบบบริการการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการของศูนย์บริการคนพิการทั่วไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพคนพิการ (2) จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพแก่คนพิการ (3) จัดกิจกรรมการประกวดนวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พร้อมการให้บริการในศูนย์บริการคนพิการทั่วไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคนพิการยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพประจำปี 2560 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2485-2-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชาติชาย แก้วเมฆ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด