โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าสะบ้า
ชื่อโครงการ | โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าสะบ้า |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | สำนักงานเลขาฯกองทุน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | |
วันที่อนุมัติ | 17 พฤศจิกายน 2559 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 46,600.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | สำนักเลขานุการกองทุนฯ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลท่าสะบ้า อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.69,99.523place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 17 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าสะบ้า เป็นนวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลท่าสะบ้า กับ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและภาคีภาคส่วนต่างๆ โดยมุ่งเน้นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขให้ทั่วถึงมากขึ้น รวมถึงสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนสามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมโดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรภาคีต่างๆ ในพื้นที่ให้เข้ามาบริหารจัดการสุขภาพร่วมกันอย่างแข็งขัน จากการทบทวนสถานการณ์การดำเนินงานของกองทุนที่ผ่านมา พร้อมกับข้อมูลจากหน่วยงาน งานตรวจสอบภายนอกและจากการรับฟังความคิดเห็นทั่วๆ พบว่ายังมีความจำเป็นที่จะต้องมีการบริหารจัดการกองทุนในด้านต่างๆเพื่อพัฒนาศักยภาพกองทุนและคณะกรรมการกองทุน ทั้งในด้านการบริหารจัดการ ธรรมาภิบาล เพื่อให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คุณภาพ ด้วยหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีความคล่องตัวในการดำเนินการกองทุน คณะกรรมการกองทุนมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น |
||
2 | ๒.เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้
สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของการจัดการกองทุนฯ ผลการประเมินจากในระบบ |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.จัดการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.จัดการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุน 3.จัดซื้อวัสดุสำนักงานต่างๆ 4.เข้าร่วมประชุมสัมนาต่างๆเพื่อเพิ่มศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุน
๑. เกิดความคล่องตัวในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบล ท่าสะบ้า ๒. คณะกรรมการและที่ปรึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดขวัญ กำลังใจในการปฏิบัติงาน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 เม.ย. 2560 13:55 น.