กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง


“ โครงการบูรณาการส่งเสริมสุขภาพประชาชนตำบลฉลุง ”

ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการส่งเสริมสุขภาพประชาชนตำบลฉลุง

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5273-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการส่งเสริมสุขภาพประชาชนตำบลฉลุง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการส่งเสริมสุขภาพประชาชนตำบลฉลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบูรณาการส่งเสริมสุขภาพประชาชนตำบลฉลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5273-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.กิจกรรมใส่ใจ เข้าใจ ข้อเสื่อม เข่าเสื่อม ข้อ 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแลตนเอง
  2. ข้อ 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการป้องกันอาการปวดข้อเข่าและปวดเมือย ดูแลตัวเองให้ห่างไกลจากข้อเข่าเสื่อม
  3. 2.กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ ข้อ 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครสุขภาพในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชน
  4. ข้อ 2.เพื่อส่งเสริมทันตสุขภาพในชุมชน
  5. 3.กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อ 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
  6. ข้อ 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม
  7. 4. กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์ ข้อ 1.เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมาย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
  8. ข้อ 2.เพื่อสร้างจิตสำนึก/เจตคติที่ดีแก่บิดา มารดาและผู้ปกครองเด็กต่อการรับวัคซีน
  9. ข้อ 3. เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง
  10. 5. กิจกรรมป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ข้อ 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงซีดและมีภาวะซีดลดลง
  11. ข้อ 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมใส่ใจ เข้าใจ ข้อเสื่อม เข่าเสื่อม จัดอบรมให้ความรู้กับผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้สนใจ
  2. 2.กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ 2.1 กิจกรรมอบรมทันตสุขศึกษา
  3. 2.กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ 2.2 กิจกรรมเข้าฐานสาธิตและฝึกปฏิบัติพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครสุขภาพในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชน
  4. 4.กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์ 4.1 กิจกรรมให้ความรู้
  5. 4.กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์ 4.2 กิจกรรมออกหมู่บ้านติดตามวัคซีน
  6. 5.กิจกรรมป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ อบรมให้ความรู้
  7. 3.กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.1 จัดอบรมให้ความรู้กับกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและผู้สนใจ (ครั้งที่ 1)
  8. 3.กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.1 จัดอบรมให้ความรู้และติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและผู้สนใจ (ครั้งที่ 2)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กิจกรรมใส่ใจ เข้าใจ ข้อเสื่อม เข่าเสื่อม   1.1 ผู้ที่เข้ารับการอบรมสามารถลดความเจ็บปวดและใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข   1.2 สามารถป้องกันและควบคุมโรคข้อเข่าเสื่อมในกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมในชุมชนได้
  2. กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ   2.1 แกนนำอาสาสมัครสุขภาพมีความรู้ ความเข้าใจในงานทันตสาธารณสุข และสามารถดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชนได้   2.2 แกนนำอาสาสมัครสุขภาพสามารถค้นหาปัญหาสภาวะทันตสุขภาพในชุมชน และสามารถจัดทำแผนแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดกระบวนการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรม
  3. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม   3.1 ประชาชนกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ   3.2 กลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูและสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม   3.3 อัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายใหม่ลดลง
  4. กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์   4.1 องค์กรในชุมชน ได้แก่ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาครอบคลุมของวัคซีนเด็ก 0-5 ปี   4.2 ผู้ปกครองของเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ที่ถูกต้องและตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีนตามนัด มีการพัฒนาระบบบริการเพื่อตอบสนองกลุ่มเป้าหมายและเพ่ิมประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  5. กิจกรรมป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์   5.1 หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความสามารถดูแลตนเองในระหว่างตั้งครรภ์ได้และมีความปลอดภัยจากภาวะโลหิตจาง   5.2 อัตราเกิดภาะวโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ลดลงร้อยละ 5 จากเดิมและอัตราร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดไม่เกินร้อยละ 10   5.3 หญิงตั้งครรภ์และครบอครัว มีความรู้ ความเข้าใจ และมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกตก้องขณะตั้งครรภ์   5.4 เกิดการมีส่วร่วมและได้รับความร่วมมือจาก องค์กรชุมชนในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2.กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ 2.1 กิจกรรมอบรมทันตสุขศึกษา

วันที่ 21 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.มีการส่งเสริมความสำคัญของสุขภาพช่องปาก โรคในช่องปาก และการป้องกัน บทบาทของแกนนำอาสาสมัครสุขภาพกับการมีส่วนร่วมในชุมชนและบูรณาการกับงานอื่น ๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำอาสาสมัครสุขภาพที่ดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชนได้มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก โรคในช่องปาก และการป้องกันโรคในช่องปาก  และสามารถนำไปดูแลคนอื่น ๆ ได้

 

40 0

2. 2.กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ 2.2 กิจกรรมเข้าฐานสาธิตและฝึกปฏิบัติพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครสุขภาพในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชน

วันที่ 21 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกปฏิบัติพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครสุขภาพในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชน  โดยแบ่งฐานการปฏิบัติ ออกเป็น 3 ฐาน  คือ 1.ฐานคุณรู้จักฟันดีแค่ไหน 2.ฐานฝึกการดูแลช่องปากของเด็กที่ยังไม่มีฟัน 3.ฐานฝึกการดูแลช่องปากและฝึกการแปรงฟัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำอาสาสมัครสุขภาพด้านทันตสุขภาพที่ผ่านการฝึกปฏิบัติสามารถลงพื้นที่เพื่อให้คำแนะนำ  และดูแลเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปากให้แก่เด็กและผู้ปกครองได้อย่างทั่วถึง

 

40 0

3. 1.กิจกรรมใส่ใจ เข้าใจ ข้อเสื่อม เข่าเสื่อม จัดอบรมให้ความรู้กับผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้สนใจ

วันที่ 4 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

มีการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องข้อเสื่อม เข่าเสื่อม  ความรู้เรื่องกายภาพบำบัดเพื่อการรักษา  และการฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้สนใจ สามารถฝึกปฏิบัติการบริหารข้อเข่า เพื่อเสริมสร้างกล้ามเนื้อรอบ ๆ เข่าป้องกันการเกิดข้อเสื่อม เข่าเสื่อม ได้อย่างถูกต้อง

 

80 0

4. 3.กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.1 จัดอบรมให้ความรู้กับกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและผู้สนใจ (ครั้งที่ 1)

วันที่ 11 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมการติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2.ให้ความรู้การดูแลสุขภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดย 3 อ 2 ส 3.ให้ความรู้การออกกำลังกายให้แก่กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4.อบรมเชิงปฏิบัติการออกกำลังกายให้แก่กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง  ได้มีความรู้ในเรื่องของการเลือกรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้อง รวมถึงได้รู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในการออกกำลังกาย

 

50 0

5. 3.กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.1 จัดอบรมให้ความรู้และติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและผู้สนใจ (ครั้งที่ 2)

วันที่ 15 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้และติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามประเมินผลกลุ่มเสี่ยงหลังเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยการชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต และวัดระดับน้ำตาลในเลือดด้วยการเจาะปลายนิ้ว ผู้ได้รับการติดตามสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม

 

50 0

6. 5.กิจกรรมป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ อบรมให้ความรู้

วันที่ 20 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ส่งเสริมให้ความสำคัญการมากฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ 2.การฝึกปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์ขณะตั้งครรภ์ 3.ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ ความสำคัญการรับประทานยาบำรุงในหญิงตั้งครรภ์ 4.ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงซีดและมีภาวะซีด ไม่เกินร้อยละ 10  และทำให้หญิงตั้งครรภืได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง  ส่งผลให้เด็กทารกที่คลอดออกมามีสุขภาพตามเกณฑ์ที่ดี

 

60 0

7. 4.กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์ 4.1 กิจกรรมให้ความรู้

วันที่ 30 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้แก่คณะทำงานเรื่องอันตรายของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายสุขศึกษาจากโรงพยาบาล  เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อที่ป้องกันด้วยวัคซีนเพื่อนำไปพูดคุย  ชักชวนคนในชุมชนให้นำบุตรมารับวัคซีน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองของเด็กในพื้นที่ ไม่นำเด็กกลุ่มเป้าหมายมารับบริการฉีดวัคซีนตามเกณฑ์  เนื่องจากขาดความตระหนักและความเข้าใจของผู้ปกครอง  จึงส่งผลให้เด็กได้รับวัคซีนต่ำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงกำหนดไว้

 

100 0

8. 4.กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์ 4.2 กิจกรรมออกหมู่บ้านติดตามวัคซีน

วันที่ 4 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกหมู่บ้านร่วมกับคณะทำงานออกติดตามผู้ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด ให้สุขศึกษาแก่ผู้ปกครองของเด็ก เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนพาบุตรมารับวัคซีนในครั้งต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้ปกครองของเด็กเริ่มมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการพาบุตรมารับวัคซีนเพิ่มมากขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมใส่ใจ เข้าใจ ข้อเสื่่อม เข่าเสื่อม 1.จัดอบรมเรื่องการป้องกันและวิธีการดูแลตัวเองจากโรคข้อเข่าเสื่อมให้แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 80 คน ร้อยละ 100 2.ให้ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้สนใจ ฝึกปฏิบัติการบริหารข้อเข่า เพื่อเสริมสร้างกล้ามเนื้อรอบ ๆ เข่า ป้องกันการเกิดข้อเสื่อม เข่าเสื่อม แก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน 80 คน ร้อยละ 100 กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ 1.จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครสุขภาพในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องการดูแลช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียน ช่วงอายุ 0-5 ปี บทบาทของแกนนำอาสาสมัครสุขภาพกับการมีส่วนร่วมในชุมชนบูรณาการกับงานอื่น ๆ เพื่อที่จะสามารถให้คำแนะนำ และตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นให้กับเด็กก่อนวัยเรียน ช่วงอายุ 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบของตนเองได้ ทั้งนี้เพ่ือให้เกิดการให้บริการทันตกรรมเชิงรุกเพิ่มขึ้น โดยมีแกนนำอาสาสมัครสุขภาพเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการจำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2.แกนนำอาสาสมัครสุขภาพออกติดตามเยี่ยมบ้านเด็กก่อนวัยเรียนช่วงอายุ 0-5 ปี ในเขตรับผิดชบอของตนเองโดยมีกิจกรรมตรวจช่องปาก ให้คำแนะนำทันตสุขภาพแก่เด็กและผู้ปกครอง ฝึกแปรงฟัน พร้อมทั้งแจกอุปกรณ์การดูแลช่องปากที่เหมาะสมตามช่วงวัยของเด็กที่รับการตรวจ ทั้งนี้มีการบันทึกลงตามแบบฟอร์มการติดตามส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 0-5 ปี และส่งข้อมูลการดำเนินงานทันตสุขภาพในชุมชนให้ทันทุกวันที่ 20 ของทุกเดือน โดยแกนนำอาสาสมัครสุขภาพแต่ละหมู่จัดส่งรายงานตามที่กำหนด ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1.สรุปรายชื่อ คัดกรองกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ผ่านการคัดกรองโดย อสม. จำนวน 50 คน เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2.จัดอบรมให้ความรู้กับกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและผู้สนใจ เป้าหมายจำนวน 50 คน มีประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและผู้สนใจเข้ารับการอบรม จำนวน 52 คน ได้รับการสนับสนุนวิทยากร จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อย บรรยายเรื่องความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และวิทยากรจาก รพ.สต.ท่าจีน เรื่องการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต การดำเนินการอบรมเป็นไปได้ี เป้าหมายในการอบรมีจำนวน 50 คน มีประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและผู้สนใจที่เข้ารับการอบรม จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 104 พบว่าผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 92.36 3.ติดตามประเมินผลกลุ่มเสี่ยงหลังเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 1 เดือน โดยการชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิตและวัดระดับน้ำตาลในเลือดด้วยการเจาะปลายนิ้ว FCG มีผู้ได้รับการติดตาม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม 4.ติดตามประเมินผลกลุ่มเสี่ยงหลังเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเข้มข้น โดยการชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิตและวัดระดับน้ำตาลในเลือดด้วยการเจาะปลายนิ้ว FCG ทุก 7 วัน จำนวน 10 ครั้ง มีผู้ได้รับการติดตาม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้น จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์ 1.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี และผู้สนใจ ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติตัวสำหรับการพาบุตรเข้ารับบริการฉีดวัคซีน ทั้งนี้เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายได้มีความตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อที่ป้องกันด้วยวัคซีน 2.ผลการรับวัคซีนเด็ก 0-5 ปี   -อายุ 1 ปี เฉลี่ยร้อยละ 95.45   -อายุ 2 ปี เฉลี่ยร้อยละ 85.71   -อายุ 3 ปี เฉลี่ยร้อยละ 82.18   -อายุ 5 ปี เฉลี่ยร้อยละ 95.15 กิจกรรมป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ 1.ดำเนินการอบรมให้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ สามี ผู้ดูแลหญิงตั้งครรภ์เขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลฉลุง จำนวน 60 คน 2.ผลที่ได้รับอัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์เขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลฉลุง ร้อยละ 6.78 ไม่เกินร้อยละ 10 3.อัตราร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิก ร้อยละ 100 4.อัตราร้อยละของทารกแรกเกิดนำ้หนักน้อยหว่า 2,500 เท่ากับร้อยละ 0 ไม่เกินร้อยละ 7 5.การจัดบริการให้สามีเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพมารดาและบุตรทำให้สามีมีความภาคภูมิใจที่มีส่วนทำให้ลูกในครรภ์มีความปลอดภัย และพึงพอใจในบริการมากขึ้น 6.ความรักในครอบครัวที่มีต่อหญิงตั้งครรภ์นำพาให้เกิดความร่วมมือแก้ไขภาวะแทรกซ้อนอย่างจริงจัง โดยสามีเป็นผู้นำในการแก้ไขปัญหาทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความปลอดภัยมากขึ้น 7.ความรักในครอบครัวเสริมแรงให้หญิงตั้งครรภ์ สนในดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อลูกในครรภ์ คลอดปลอดภัย 8.เครือข่าย อสม.มีความเข้มแข็งและสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก อันส่งผลให้มารดาและทารกมีสุขภาพที่ดี ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย และไม่เกิดการสูญเสียจากสาเหตุที่ป้องกันได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.กิจกรรมใส่ใจ เข้าใจ ข้อเสื่อม เข่าเสื่อม ข้อ 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแลตนเอง
0.00

 

2 ข้อ 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการป้องกันอาการปวดข้อเข่าและปวดเมือย ดูแลตัวเองให้ห่างไกลจากข้อเข่าเสื่อม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายไม่เป็นโรคเข้าเข่าเสื่อม ร้อยละ 80 ของกลุ่มผู้ป่วยโรคเข้าเข่าเสื่อมไม่มีภาวะแทรกซ้อน
0.00

 

3 2.กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ ข้อ 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครสุขภาพในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชน
ตัวชี้วัด : แกนนำอาสาสมัครสุขภาพเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการร้อยละ 80
0.00

 

4 ข้อ 2.เพื่อส่งเสริมทันตสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : แกนนำอาสาสมัครสุขภาพส่งข้อมูลการดำเนินงานทันตสุขภาพในชุมชนให้ทันทุกวันที่ 20 ของทุกเดือนร้อยละ 80
0.00

 

5 3.กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อ 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวานกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
0.00

 

6 ข้อ 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม
0.00

 

7 4. กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์ ข้อ 1.เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมาย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : เด็กกลุ่มเป้าหมาย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ร้อยละ 90
0.00

 

8 ข้อ 2.เพื่อสร้างจิตสำนึก/เจตคติที่ดีแก่บิดา มารดาและผู้ปกครองเด็กต่อการรับวัคซีน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองของเด็ก 0-5 ปี เข้าร่วมกิจกรรมโครงการร้อยละ 80
0.00

 

9 ข้อ 3. เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง
ตัวชี้วัด : ไม่เกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในกลุ่มเป้าหมาย
0.00

 

10 5. กิจกรรมป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ข้อ 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงซีดและมีภาวะซีดลดลง
ตัวชี้วัด : อัตราร้อยละของหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดไม่เกินร้อยละ 10
0.00

 

11 ข้อ 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว
ตัวชี้วัด : อัตราร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิกร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 190 190
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.กิจกรรมใส่ใจ เข้าใจ ข้อเสื่อม เข่าเสื่อม  ข้อ 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้  ความเข้าใจ  เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม  ภาวะแทรกซ้อนและการดูแลตนเอง (2) ข้อ 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการป้องกันอาการปวดข้อเข่าและปวดเมือย  ดูแลตัวเองให้ห่างไกลจากข้อเข่าเสื่อม (3) 2.กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ  ข้อ 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครสุขภาพในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชน (4) ข้อ 2.เพื่อส่งเสริมทันตสุขภาพในชุมชน (5) 3.กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  ข้อ 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน (6) ข้อ 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม (7) 4. กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์  ข้อ 1.เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมาย  ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ (8) ข้อ 2.เพื่อสร้างจิตสำนึก/เจตคติที่ดีแก่บิดา  มารดาและผู้ปกครองเด็กต่อการรับวัคซีน (9) ข้อ 3. เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง (10) 5. กิจกรรมป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์  ข้อ 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงซีดและมีภาวะซีดลดลง (11) ข้อ 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมใส่ใจ เข้าใจ ข้อเสื่อม เข่าเสื่อม  จัดอบรมให้ความรู้กับผู้สูงอายุ  ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้สนใจ (2) 2.กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ  2.1 กิจกรรมอบรมทันตสุขศึกษา (3) 2.กิจกรรมบูรณาการงานทันตสาธารณสุขในแกนนำอาสาสมัครสุขภาพ  2.2 กิจกรรมเข้าฐานสาธิตและฝึกปฏิบัติพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครสุขภาพในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชน (4) 4.กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์ 4.1 กิจกรรมให้ความรู้ (5) 4.กิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดีวัคซีนตามเกณฑ์ 4.2 กิจกรรมออกหมู่บ้านติดตามวัคซีน (6) 5.กิจกรรมป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์  อบรมให้ความรู้ (7) 3.กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  3.1 จัดอบรมให้ความรู้กับกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน  ความดันโลหิตสูงและผู้สนใจ (ครั้งที่ 1) (8) 3.กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  3.1 จัดอบรมให้ความรู้และติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน  ความดันโลหิตสูงและผู้สนใจ (ครั้งที่ 2)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบูรณาการส่งเสริมสุขภาพประชาชนตำบลฉลุง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5273-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด