กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน


“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางแวเย๊าะ มณีหิยา

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4123-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4123-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 78,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการได้ร่วมมือดำเนินการรณรงค์เผ้าระวังและควบคุมโรคไข้มาลาเรียซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยและมีแนวมโน้มในการเกิดโรคสูงขึ้นมาโดยตลอด ดังนั้นกลวิธีในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนำพาหะโดยยุง คือ รณรงค์ให้เด็กนักเรียนและชาวบ้านกำจัดลูกน้ำทุกๆวันศุกร์ และต้องดำเนินการกำจัดและควบคุมแหล่งเพาะพันธ์ุยุงในโรงเรีรยน มัสยิด บ้านและในชุมชนโดยตระหนักถึงความสำคัญในการเผ้าระวังโรค และต้องมีการดำเนินการควบคุมเชิงรุกให้เข้มข้น ตลอดจนการจัดสุขาภิบาลที่พักอาศัยให้ถูกสุขลักษณะเพื่อป้องกันการเกิดโรคระบาดขึ้น หากมีการระบาดขึ้นในชุมชน จะต้องรู้อย่างรวดเร็ว และลงมือควบคุมโรคทันที โดยการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุง ทำลายลูกน้ำยุงและพ่นหมอกควัน และสารเคมีติดผนังทั้่งในชุมชน โรงเรียน เพื่อป้องกันการเกิดโรคระบาดซ้ำอีก โรคไข้ามาลาเรีย ก็นับเป็นอีกหนึ่งปัญหาที่ส่งผลอย่างยิ่งต่อการบั่นทอนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยในทุกมิติสุขภาพทั้งนี้เพราะด้วยพยาธิสภาพของโรคสามารถเกิดได้กับทุกกุล่มอายุ และมีอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการดุแลรักษาอย่างทันท่วงที รวมทั้งสมารถแพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็วซึ่งยากต่อการควบคุมป้องกัน โดยจาสถิติของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค พบว่า อัตราป่วยทั้งประเทศในช่วงครึ่งปีแรก อยู่ที่ 228.80 ต่อแสนประชากรและสำหรับสถานการณ์โรคไข้มาลาเรียในเขตรับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสายตาเอียด ในปี 2559 (ตั้่งแต่ 1 ตุลาคม 2558 - 31 สิงหาคม 2559) พบผู้ป่วยด้วยดรคไข้มาลาเรีย จำนว4ราย คิดเป็นอัตราป่วย220.26 ต่อแสนประชากร ส่วนโรคไข้เลือดออกยังไม่พบผุ้ป่วยในปีดังกล่าว อย่างไรก็ตามในปัจจุบันนี้สถานการณ์โรคมาลาเรียนและโรคไข้เลือดออกก็ยังมีการระบาดอยู่เรื่อยๆ ทุกปี ประกอบกับสภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศ ที่เหมาะสมต่อการเป็นแหล่งเพาะพันธ์ุของโรคไข้มาลาเรียในปีหนึ่งๆ มีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไช้มาลาเรียเป็นจำนวนมาก จาการทำงานร่วมกันระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสายตาเอียดกับ อบต.แะ นคม. ที่ได้เข้ามาดูแลโรคไข้มาลาเรียในปัญหาที่พบมาที่สุดคือประชาชนไม่ได้เล็งเห็นถึงการป้องกันและควบคุมโรคไข้มาลาเรีย ด้วยเหตุผลดังกล่าวทำให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสายตาเอียด เกิดแนวคิดที่จะสร้างจิตสำนึกในการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน ให้มีความรู้แลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการรักษาตัวเองอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดคล้องยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพและสิ่งแวดล้อมตามกลวิธีเมืองน่าอยู่จึงได้มีการจัดทำโครงการ "โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออก" ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียไม่เกิน 400 ต่อแสนประชากร และเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 50 ต่อประชากรแสนคน
  2. เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็ว
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออกได้รับการรักษาที่ถูกต้อง
  4. เพื่อสร้างกระแสความร่วมมือของประชาชน องค์กรในชุมชน ร่วมกันปลอดลูกน้ำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,250
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียและไข้เลือดออก
    2. สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้มาลาเรียและไข้เลือดออกได้ทันท่วงที

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียไม่เกิน 400 ต่อแสนประชากร และเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 50 ต่อประชากรแสนคน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็ว
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออกได้รับการรักษาที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อสร้างกระแสความร่วมมือของประชาชน องค์กรในชุมชน ร่วมกันปลอดลูกน้ำ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1250 1250
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,250 1,250
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรียไม่เกิน 400 ต่อแสนประชากร และเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิน 50 ต่อประชากรแสนคน (2) เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็ว (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียและโรคไข้เลือดออกได้รับการรักษาที่ถูกต้อง (4) เพื่อสร้างกระแสความร่วมมือของประชาชน องค์กรในชุมชน ร่วมกันปลอดลูกน้ำ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ป้องกันโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออก จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4123-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางแวเย๊าะ มณีหิยา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด