กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา


“ พัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตำบลควนเมา ”

ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางเอมอร แสนดี

ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตำบลควนเมา

ที่อยู่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1513-01-008 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 31 พฤษภาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตำบลควนเมา จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตำบลควนเมา



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตำบลควนเมา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1513-01-008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 31 พฤษภาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุข เห็นชอบนโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” โดยใช้อำเภอเป็นจุดเชื่อมโยงการบริหารจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่อย่างรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ โดยกำหนดคุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 5 ด้าน ประกอบด้วย 1) มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 2) มีระบบระบาดวิทยาในระดับอำเภอที่ดี 3) มีการวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 4) มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม 5) มีผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันที่สำคัญ คุณลักษณะทั้ง 5 ด้านนี้ ถือเป็นเครื่องมือที่จะบูรณาการดำเนินงานของภาครัฐภายใต้การมีส่วนร่วมจากภาคท้องถิ่นและภาคประชาชน รวมทั้งให้ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ได้เรียนรู้การวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ของตนเอง โดยการดำเนินงานในลักษณะ “ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมประเมินผล และร่วมรับผิดชอบ” ในทุกระดับเพื่อช่วยกันค้นหาและแก้ไขต้นตอของปัญหาการเกิดโรคในระดับประชาชน ทั้งนี้การแก้ไขปัญหาควรสอดคล้องกับบริบทและสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ภายใต้ศักยภาพในการแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ของตนเอง โดยหน่วยบริการและหน่วยสนับสนุนที่เกี่ยวข้องทุกระดับให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพที่แท้จริงของพื้นที่เป็นหลัก สามารถใช้ข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องประกอบการตัดสินใจวางแผนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคในระดับพื้นที่  รวมทั้งประสานการดำเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถเชื่อมโยงผสมผสานแนวคิด องค์ความรู้ เข้ากับบริบทของพื้นที่ให้เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการในระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป
    ทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and rapid response Team: SRRT) เป็นกลไกในการจัดการกับปัญหาการเกิดโรค ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข หรือภัยคุกคามทางสุขภาพซึ่งมีผลกระทบทางสุขภาพเกิดการเจ็บป่วย และเสียชีวิต นั่นหมายถึง ความสามารถของบุคลากรที่ร่วมทีมในพื้นที่ ต้องมีความรับผิดชอบเฝ้าระวัง และตอบสนองต่อปัญหาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งต้องได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้ง สถานบริการทางสาธารณสุข องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายภาคประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน การดำเนินงานจึงจะสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ซึ่งมุ่งหวังให้ทีม SRRT มีการยกระดับเป็นทีมที่สามารถทำหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ค้นหาเหตุการณ์ผิดปกติได้เร็วขึ้น มีการตรวจสอบสาเหตุของเหตุการณ์ สื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม และมีความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขได้ทันที จึงมีความจำเป็นในการพัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วระดับตำบลควนเมา เพื่อเตรียมความพร้อมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และโรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาการแพร่ ระบาดของโรค และให้หน่วยงานดำเนินการเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด และตอบโต้ภาวะฉุกเฉินได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ     จากสถานการณ์ดังกล่าว สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี ตำบลควนเมา อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการ พัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวัง สอบสวนโรค เคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับตำบลควนเมาขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพแก่ทีมเฝ้าระวัง สอบสวนโรค เคลื่อนที่เร็ว ระดับตำบลและผู้ที่เกี่ยวข้องในการ เฝ้าระวังโรคและเพื่อหาแนวทางในการดำเนินการเฝ้าระวังและควบคุมโรคให้ทันเวลาและให้โรคสงบลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ทีมเฝ้าระวัง สอบสวนโรค เคลื่อนที่เร็ว (SRRT) สามารถเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ภายในพื้นที่ตำบลควนเมาได้อย่างทันเวลา
  2. เพื่อให้อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อภายในพื้นที่ ตำบลควนเมาลดลง
  3. ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคติดต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทีมเฝ้าระวัง สอบสวนโรค เคลื่อนที่เร็ว (SRRT) สามารถเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ภายในพื้นที่ตำบลควนเมาได้อย่างทันเวลา
  2. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อภายในพื้นที่ตำบลควนเมาลดลง
  3. ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคติดต่อ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ทีมเฝ้าระวัง สอบสวนโรค เคลื่อนที่เร็ว (SRRT) สามารถเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ภายในพื้นที่ตำบลควนเมาได้อย่างทันเวลา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของทีมเฝ้าระวัง สอบสวนโรค เคลื่อนที่เร็ว (SRRT) สามารถเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ภายในพื้นที่ตำบลควนเมาได้อย่างทันเวลา
80.00

 

2 เพื่อให้อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อภายในพื้นที่ ตำบลควนเมาลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อภายในพื้นที่ตำบลควนเมาลดลง
80.00

 

3 ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคติดต่อ
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ทีมเฝ้าระวัง สอบสวนโรค เคลื่อนที่เร็ว (SRRT) สามารถเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ ภายในพื้นที่ตำบลควนเมาได้อย่างทันเวลา (2) เพื่อให้อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อภายในพื้นที่ ตำบลควนเมาลดลง (3) ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคติดต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตำบลควนเมา จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1513-01-008

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเอมอร แสนดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด