โครงการชาวยะหา ร่วมใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชาวยะหา ร่วมใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางศุภร พลอยอุบล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการชาวยะหา ร่วมใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม
ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2560 ถึง 26 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาวยะหา ร่วมใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวยะหา ร่วมใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาวยะหา ร่วมใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2560 - 26 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถิติโรคมะเร็งของประเทศไทย พบว่า โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายเป็นอันดับที่ 3 รองจากโรคหัวใจและหลอดเลือด และมีแนวโน้มของโรคสูงขึ้น สำหรับในเพศหญิงโรคมะเร็งที่พบบ่อยที่สุด คือ มะเร็งปากมดลูก พบผู้ป่วยรายใหม่ปีละ 6,300 ราย พบมากที่สุดระหว่างอายุ 45 – 50 ปี และเป็นสาเหตุการตายเป็นอันดับที่ 1 ของโรคมะเร็งในเพศหญิง โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคที่สามารถรักษาให้หายขาดได้ถ้าได้รับการวินิจฉัยอย่างรวดเร็ว จากการเก็บรวบรวมสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติพบว่าอัตรารอดชีวิต (Survivalrate) เท่ากับ99.9เปอร์เซ็นต์ดังนั้นถ้าสามารถวินิจฉัยได้ตั้งแต่อาการของโรคเป็นน้อย ๆ และให้การรักษาอย่างเหมาะสมก็จะสามารถลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นอย่างมาก
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้กำหนดการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นงานหลักให้กับสถานบริการเร่งรัดการดำเนินการคัดกรองสตรีอายุ 30-60 ปีซึ่งโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาได้มีการดำเนินการตามนโยบาย แต่พบปัญหาในการดำเนินงานคือประชาชนยังไม่ตระหนักถึงอันตรายของโรค มีความอายในการมาตรวจ ทำให้ผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหา ไม่ดีเท่าที่ควร
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาโดยกลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวได้ตระหนักถึงปัญหานี้ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยดึงพลังจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านผู้นำชุมชนผู้นำศาสนากลุ่มสตรีในการค้นหา ติดตามกลุ่มเป้าหมาย จัดอบรมให้ความรู้เพื่อสร้างความตระหนักถึงอันตรายของโรค บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและส่งต่อในรายผลการวินิจฉัยผิดปกติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อลดอัตราการป่วยและอัตราตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
2. เพื่อค้นหาความผิดปกติของปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะที่ 1 และ 2
3. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ
4. เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสถานบริการ
5. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการดูแล สุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน ห่างไกลมะเร็ง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1อัตราป่วยและอัตราตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมลดลง
2ค้นหาความผิดปกติของมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะที่ 1 และ 2เพิ่มขึ้น
3. สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสถายบริการเพิ่มมากขึ้น
4. สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสถายบริการเพิ่มมากขึ้น
5. ประชาชนในเขตตำบลยะหามีความรู้เรื่องโรคมะเร็งและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการดูแล สุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนเพื่อให้ห่างไกลมะเร็ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน
จากการดำเนินงานโครงการ โครงการชาวยะหา ร่วมใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดอัตราการป่วยและอัตราตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพื่อค้นหาความผิดปกติของปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะที่ 1 และ 2 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสถานบริการ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการดูแล สุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน ห่างไกลมะเร็ง
กลุ่มเป้าหมายประจำปี 2560 เป็นสตรีกลุ่มที่มีอายุ 30 - 70 ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 1,2,3,6
และ 9 ของตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จำนวน 1051 คน ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งเต้านม
841 คน คิดเป็นร้อยละ 80.01 มีผลการตรวจปกติร้อยละ 100
ผลการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของสตรีกลุ่มอายุ 30 - 60 ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 1,2,3,6และ 9 ของตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จำนวน 899 คน ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 360 คน คิดเป็นร้อยละ 40.04 มีผลการตรวจปกติร้อยละ 100
แกนนำ อสม. จำนวน 15 คน มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้อย่างถูกต้อง และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับกลุ่ม อสม. กลุ่มสตรีเป้าหมาย ได้ดีทำให้กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น
ข้อเสนอในการทำโครงการในครั้งต่อไปควรให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคคลอื่นได้ เช่น ลูก หลาน หรือสมาชิกในครอบครัว และควรจัดทำ โมเดล คู่มือเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกเพื่อที่ประชาชนทั่วไปจะได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
ระยะเวลาการดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อลดอัตราการป่วยและอัตราตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
2. เพื่อค้นหาความผิดปกติของปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะที่ 1 และ 2
3. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ
4. เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสถานบริการ
5. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการดูแล สุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน ห่างไกลมะเร็ง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราการป่วยและอัตราตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
2. เพื่อค้นหาความผิดปกติของปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะที่ 1 และ 2
3. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ
4. เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสถานบริการ
5. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการดูแล สุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน ห่างไกลมะเร็ง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชาวยะหา ร่วมใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางศุภร พลอยอุบล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชาวยะหา ร่วมใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางศุภร พลอยอุบล
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2560 ถึง 26 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาวยะหา ร่วมใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวยะหา ร่วมใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาวยะหา ร่วมใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2560 - 26 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถิติโรคมะเร็งของประเทศไทย พบว่า โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายเป็นอันดับที่ 3 รองจากโรคหัวใจและหลอดเลือด และมีแนวโน้มของโรคสูงขึ้น สำหรับในเพศหญิงโรคมะเร็งที่พบบ่อยที่สุด คือ มะเร็งปากมดลูก พบผู้ป่วยรายใหม่ปีละ 6,300 ราย พบมากที่สุดระหว่างอายุ 45 – 50 ปี และเป็นสาเหตุการตายเป็นอันดับที่ 1 ของโรคมะเร็งในเพศหญิง โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคที่สามารถรักษาให้หายขาดได้ถ้าได้รับการวินิจฉัยอย่างรวดเร็ว จากการเก็บรวบรวมสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติพบว่าอัตรารอดชีวิต (Survivalrate) เท่ากับ99.9เปอร์เซ็นต์ดังนั้นถ้าสามารถวินิจฉัยได้ตั้งแต่อาการของโรคเป็นน้อย ๆ และให้การรักษาอย่างเหมาะสมก็จะสามารถลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นอย่างมาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้กำหนดการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นงานหลักให้กับสถานบริการเร่งรัดการดำเนินการคัดกรองสตรีอายุ 30-60 ปีซึ่งโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาได้มีการดำเนินการตามนโยบาย แต่พบปัญหาในการดำเนินงานคือประชาชนยังไม่ตระหนักถึงอันตรายของโรค มีความอายในการมาตรวจ ทำให้ผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหา ไม่ดีเท่าที่ควร โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาโดยกลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวได้ตระหนักถึงปัญหานี้ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยดึงพลังจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านผู้นำชุมชนผู้นำศาสนากลุ่มสตรีในการค้นหา ติดตามกลุ่มเป้าหมาย จัดอบรมให้ความรู้เพื่อสร้างความตระหนักถึงอันตรายของโรค บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและส่งต่อในรายผลการวินิจฉัยผิดปกติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อลดอัตราการป่วยและอัตราตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม 2. เพื่อค้นหาความผิดปกติของปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะที่ 1 และ 2 3. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ 4. เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสถานบริการ 5. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการดูแล สุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน ห่างไกลมะเร็ง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1อัตราป่วยและอัตราตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมลดลง 2ค้นหาความผิดปกติของมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะที่ 1 และ 2เพิ่มขึ้น 3. สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสถายบริการเพิ่มมากขึ้น 4. สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสถายบริการเพิ่มมากขึ้น 5. ประชาชนในเขตตำบลยะหามีความรู้เรื่องโรคมะเร็งและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการดูแล สุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนเพื่อให้ห่างไกลมะเร็ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน
จากการดำเนินงานโครงการ โครงการชาวยะหา ร่วมใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดอัตราการป่วยและอัตราตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพื่อค้นหาความผิดปกติของปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะที่ 1 และ 2 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสถานบริการ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการดูแล สุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน ห่างไกลมะเร็ง
กลุ่มเป้าหมายประจำปี 2560 เป็นสตรีกลุ่มที่มีอายุ 30 - 70 ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 1,2,3,6
และ 9 ของตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จำนวน 1051 คน ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งเต้านม
841 คน คิดเป็นร้อยละ 80.01 มีผลการตรวจปกติร้อยละ 100
ผลการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของสตรีกลุ่มอายุ 30 - 60 ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 1,2,3,6และ 9 ของตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จำนวน 899 คน ผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 360 คน คิดเป็นร้อยละ 40.04 มีผลการตรวจปกติร้อยละ 100
แกนนำ อสม. จำนวน 15 คน มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้อย่างถูกต้อง และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับกลุ่ม อสม. กลุ่มสตรีเป้าหมาย ได้ดีทำให้กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น
ข้อเสนอในการทำโครงการในครั้งต่อไปควรให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคคลอื่นได้ เช่น ลูก หลาน หรือสมาชิกในครอบครัว และควรจัดทำ โมเดล คู่มือเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกเพื่อที่ประชาชนทั่วไปจะได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
ระยะเวลาการดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อลดอัตราการป่วยและอัตราตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
2. เพื่อค้นหาความผิดปกติของปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะที่ 1 และ 2
3. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ
4. เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสถานบริการ
5. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการดูแล สุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน ห่างไกลมะเร็ง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราการป่วยและอัตราตาย ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม 2. เพื่อค้นหาความผิดปกติของปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะที่ 1 และ 2 3. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ 4. เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้และได้ตระหนักเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในสถานบริการ 5. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการดูแล สุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน ห่างไกลมะเร็ง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชาวยะหา ร่วมใจห่างไกลมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางศุภร พลอยอุบล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......