โครงการลดละเลิกบุหรี่ในชุมชน ตำบลพนางตุง ปีงบประมาณ 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการลดละเลิกบุหรี่ในชุมชน ตำบลพนางตุง ปีงบประมาณ 2562 ”
ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางยุภา ธนนิมิตร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง
มิถุนายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการลดละเลิกบุหรี่ในชุมชน ตำบลพนางตุง ปีงบประมาณ 2562
ที่อยู่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 62-L3323-2-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดละเลิกบุหรี่ในชุมชน ตำบลพนางตุง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดละเลิกบุหรี่ในชุมชน ตำบลพนางตุง ปีงบประมาณ 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดละเลิกบุหรี่ในชุมชน ตำบลพนางตุง ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L3323-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2561 - 30 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,970.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสูบบุหรี่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สําคัญปัญหาหนึ่ง คนจํานวนมากสูบบุหรี่และต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายจํานวนมากเมื่อเปรียบ เทียบระหว่างค่าใช้จ่ายในการสูบบุหรี่กับรายรับจากการจัดเก็บภาษีพบว่าค่าใช้จ่ายสูงกว่า ด้วยเหตุนี้การรณรงค์ด้านสุขภาพทั่วโลกจึงมี นโยบายการควบคุมการบริโภคยาสูบ เนื่องจากเป็นปัจจัยเสี่ยงก่อให้เกิดโรคร้ายที่สามารถป้องกันได้ เช่น โรคถุงลมโป่งพอง โรคระบบ หลอดเลือดและหัวใจ และโรคมะเร็งหลายชนิด ปัจจุบันโรคหัวใจวายเป็นสาเหตุการเสียชีวิตสูงอันดับสามในคนไทย โดยส่วนใหญ่เป็นเส้น เลือดหัวใจตีบ ซึ่งเป็นผลจากการสูบบุหรี่
ปัจจุบันประเทศไทยจัดอยู่ในระดับแนวหน้าของโลกด้านการควบคุมการบริโภคยาสูบแต่กลับยังคงมีคนไทยที่สูบบุหรี่เป็นประจํา อยู่มากถึงเกือบ 12 ล้านคน ซึ่งอย่างน้อย 1 ใน 4 ของคนเหล่านี้จะต้องสังเวยชีวิตจากโรคที่สัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ที่มีได้มากมายทุกระบบ ในอีกไม่เกิน 1-2 ทศวรรษข้างหน้านี้ จึงถือเป็นภาวะเร่งด่วนที่ประเทศไทยจําเป็นจะต้องนําผู้สูบบุหรีเหล่านี้มาบําบัดรักษาให้เลิกบุหรี่ให้ ได้มากที่สุด เพื่อลดผลกระทบต่อประเทศชาติโดยภาพรวมที่จะเกิดขึ้นนี้
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลพนางตุง ได้ตระหนักถึงความสําคัญของปัญหา ดังกล่าว โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง(ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด) ซึ่งมีผู้ป่วยด้วยโรคดังกล่าว
จำนวน 274 คน เป็นเพศชาย 82 คน เพศหญิง 192 คน มีผู้ป่วยที่สูบบุหรี่ จํานวน 56 คน เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ ลดละเลิกบุหรี่ในกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังขึ้น เพื่อเป็นแรงกระตุ้นให้ผู้สูบบุหรี่สามารถ ลดละเลิกบุหรี่ได้ โดย อสม. ชุมชนเเละภาคีเครือข่าย มี ส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด) ที่สูบบุหรี่ได้รับการบําบัดรักษาการเลิกบุหรี่โดยใช้สมุนไพรที่ถูกต้องและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2ส
- ข้อที่ 2 เพื่อป้องกันและบรรเทาอาการรุนแรงของโรคที่อาจเกิดขึ้นในกลุ่มผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในอนาคต
- ข้อที่ 3 เพื่อให้แกนนําชุมชน อสม.ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน การลดละเลิกบุหรี่ในกลุ่มป่วยกลุ่มเสียง โรคเรื้อรัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.การจัดแผนเพื่อเสนอขออนุมัติโครงการ
- 5. ติดตามและประเมินผล
- 2.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- 3.ประชุมชี้แจงโครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย
- 4.อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเรื่องสถานการณ์โรคที่เกิดจากบุหรี่ โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ ประโยชน์และวิธีใช้สมุนไพรเพื่อละ ลดเลิกบุหรี่ แก่แกนนําชุมชนอสม.และกลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
55
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง (โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด) มีความรู้ความเข้าใจในโทษบุหรี่และการใช้สมุนไพรที่ถูกต้องจนสามารถ ลดละเลิกบุหรี่ได้ โดยมี อสม. ชุมชนและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด) ที่สูบบุหรี่ได้รับการบําบัดรักษาการเลิกบุหรี่โดยใช้สมุนไพรที่ถูกต้องและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2ส
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยเข้าร่วมโครงการปรับพฤติกรรมและจัดการตนเอง ลดละเลิกบุหรี่ โดยใช้สมุนไพร
0.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อป้องกันและบรรเทาอาการรุนแรงของโรคที่อาจเกิดขึ้นในกลุ่มผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในอนาคต
ตัวชี้วัด : 2. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ที่สูบบุหรีสามารถลดละเลิกสูบบุหรี่ได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50
0.00
3
ข้อที่ 3 เพื่อให้แกนนําชุมชน อสม.ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน การลดละเลิกบุหรี่ในกลุ่มป่วยกลุ่มเสียง โรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : 3. ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับบุหรี่อย่างทั่วถึง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
55
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
55
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด) ที่สูบบุหรี่ได้รับการบําบัดรักษาการเลิกบุหรี่โดยใช้สมุนไพรที่ถูกต้องและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2ส (2) ข้อที่ 2 เพื่อป้องกันและบรรเทาอาการรุนแรงของโรคที่อาจเกิดขึ้นในกลุ่มผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในอนาคต (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้แกนนําชุมชน อสม.ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน การลดละเลิกบุหรี่ในกลุ่มป่วยกลุ่มเสียง โรคเรื้อรัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.การจัดแผนเพื่อเสนอขออนุมัติโครงการ (2) 5. ติดตามและประเมินผล (3) 2.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (4) 3.ประชุมชี้แจงโครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย (5) 4.อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเรื่องสถานการณ์โรคที่เกิดจากบุหรี่ โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ ประโยชน์และวิธีใช้สมุนไพรเพื่อละ ลดเลิกบุหรี่ แก่แกนนําชุมชนอสม.และกลุ่มเป้าหมาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการลดละเลิกบุหรี่ในชุมชน ตำบลพนางตุง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 62-L3323-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางยุภา ธนนิมิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการลดละเลิกบุหรี่ในชุมชน ตำบลพนางตุง ปีงบประมาณ 2562 ”
ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางยุภา ธนนิมิตร
มิถุนายน 2562
ที่อยู่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 62-L3323-2-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดละเลิกบุหรี่ในชุมชน ตำบลพนางตุง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดละเลิกบุหรี่ในชุมชน ตำบลพนางตุง ปีงบประมาณ 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดละเลิกบุหรี่ในชุมชน ตำบลพนางตุง ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L3323-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2561 - 30 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,970.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การสูบบุหรี่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สําคัญปัญหาหนึ่ง คนจํานวนมากสูบบุหรี่และต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายจํานวนมากเมื่อเปรียบ เทียบระหว่างค่าใช้จ่ายในการสูบบุหรี่กับรายรับจากการจัดเก็บภาษีพบว่าค่าใช้จ่ายสูงกว่า ด้วยเหตุนี้การรณรงค์ด้านสุขภาพทั่วโลกจึงมี นโยบายการควบคุมการบริโภคยาสูบ เนื่องจากเป็นปัจจัยเสี่ยงก่อให้เกิดโรคร้ายที่สามารถป้องกันได้ เช่น โรคถุงลมโป่งพอง โรคระบบ หลอดเลือดและหัวใจ และโรคมะเร็งหลายชนิด ปัจจุบันโรคหัวใจวายเป็นสาเหตุการเสียชีวิตสูงอันดับสามในคนไทย โดยส่วนใหญ่เป็นเส้น เลือดหัวใจตีบ ซึ่งเป็นผลจากการสูบบุหรี่ ปัจจุบันประเทศไทยจัดอยู่ในระดับแนวหน้าของโลกด้านการควบคุมการบริโภคยาสูบแต่กลับยังคงมีคนไทยที่สูบบุหรี่เป็นประจํา อยู่มากถึงเกือบ 12 ล้านคน ซึ่งอย่างน้อย 1 ใน 4 ของคนเหล่านี้จะต้องสังเวยชีวิตจากโรคที่สัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ที่มีได้มากมายทุกระบบ ในอีกไม่เกิน 1-2 ทศวรรษข้างหน้านี้ จึงถือเป็นภาวะเร่งด่วนที่ประเทศไทยจําเป็นจะต้องนําผู้สูบบุหรีเหล่านี้มาบําบัดรักษาให้เลิกบุหรี่ให้ ได้มากที่สุด เพื่อลดผลกระทบต่อประเทศชาติโดยภาพรวมที่จะเกิดขึ้นนี้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลพนางตุง ได้ตระหนักถึงความสําคัญของปัญหา ดังกล่าว โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง(ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด) ซึ่งมีผู้ป่วยด้วยโรคดังกล่าว จำนวน 274 คน เป็นเพศชาย 82 คน เพศหญิง 192 คน มีผู้ป่วยที่สูบบุหรี่ จํานวน 56 คน เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ ลดละเลิกบุหรี่ในกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังขึ้น เพื่อเป็นแรงกระตุ้นให้ผู้สูบบุหรี่สามารถ ลดละเลิกบุหรี่ได้ โดย อสม. ชุมชนเเละภาคีเครือข่าย มี ส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด) ที่สูบบุหรี่ได้รับการบําบัดรักษาการเลิกบุหรี่โดยใช้สมุนไพรที่ถูกต้องและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2ส
- ข้อที่ 2 เพื่อป้องกันและบรรเทาอาการรุนแรงของโรคที่อาจเกิดขึ้นในกลุ่มผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในอนาคต
- ข้อที่ 3 เพื่อให้แกนนําชุมชน อสม.ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน การลดละเลิกบุหรี่ในกลุ่มป่วยกลุ่มเสียง โรคเรื้อรัง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.การจัดแผนเพื่อเสนอขออนุมัติโครงการ
- 5. ติดตามและประเมินผล
- 2.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- 3.ประชุมชี้แจงโครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย
- 4.อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเรื่องสถานการณ์โรคที่เกิดจากบุหรี่ โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ ประโยชน์และวิธีใช้สมุนไพรเพื่อละ ลดเลิกบุหรี่ แก่แกนนําชุมชนอสม.และกลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 55 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง (โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด) มีความรู้ความเข้าใจในโทษบุหรี่และการใช้สมุนไพรที่ถูกต้องจนสามารถ ลดละเลิกบุหรี่ได้ โดยมี อสม. ชุมชนและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด) ที่สูบบุหรี่ได้รับการบําบัดรักษาการเลิกบุหรี่โดยใช้สมุนไพรที่ถูกต้องและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2ส ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยเข้าร่วมโครงการปรับพฤติกรรมและจัดการตนเอง ลดละเลิกบุหรี่ โดยใช้สมุนไพร |
0.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อป้องกันและบรรเทาอาการรุนแรงของโรคที่อาจเกิดขึ้นในกลุ่มผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในอนาคต ตัวชี้วัด : 2. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ที่สูบบุหรีสามารถลดละเลิกสูบบุหรี่ได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 |
0.00 |
|
||
3 | ข้อที่ 3 เพื่อให้แกนนําชุมชน อสม.ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน การลดละเลิกบุหรี่ในกลุ่มป่วยกลุ่มเสียง โรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด : 3. ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับบุหรี่อย่างทั่วถึง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 55 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 55 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด) ที่สูบบุหรี่ได้รับการบําบัดรักษาการเลิกบุหรี่โดยใช้สมุนไพรที่ถูกต้องและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2ส (2) ข้อที่ 2 เพื่อป้องกันและบรรเทาอาการรุนแรงของโรคที่อาจเกิดขึ้นในกลุ่มผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในอนาคต (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้แกนนําชุมชน อสม.ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน การลดละเลิกบุหรี่ในกลุ่มป่วยกลุ่มเสียง โรคเรื้อรัง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.การจัดแผนเพื่อเสนอขออนุมัติโครงการ (2) 5. ติดตามและประเมินผล (3) 2.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (4) 3.ประชุมชี้แจงโครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย (5) 4.อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเรื่องสถานการณ์โรคที่เกิดจากบุหรี่ โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ ประโยชน์และวิธีใช้สมุนไพรเพื่อละ ลดเลิกบุหรี่ แก่แกนนําชุมชนอสม.และกลุ่มเป้าหมาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการลดละเลิกบุหรี่ในชุมชน ตำบลพนางตุง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 62-L3323-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางยุภา ธนนิมิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......