กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลศรีสาคร


“ โครงการผู้สูงอายุฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ”

ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายประมวล ทองอินทราช

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข

ที่อยู่ ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ ๖๒ – L๘๓๖๘ – ๑ – ๔ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 มกราคม 2562 ถึง 7 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลศรีสาคร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ๖๒ – L๘๓๖๘ – ๑ – ๔ ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 มกราคม 2562 - 7 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลศรีสาคร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุ เป็นประชากรกลุ่มที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในปัจจุบันเป็นกลุ่มเป้าหมายอีกกลุ่มหนึ่งที่ประสบปัญหาสุขภาพนานัปการซึ่งรวมถึงสุขภาพช่องปากที่มีความสัมพันธ์โดยตรงต่อการทำงานของระบบบดเคี้ยวส่งผลต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุโดยรวมปัญหาการเปลี่ยนแปลง หรือความรุนแรงของโรคในช่องปากในประชากรกลุ่มนี้จากการสำรวจของกองทันตสาธารณสุขในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559 -2560 พบว่าปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 68.8 ซึ่งนอกจากจะเป็นผลจากพฤติกรรม เช่น การทำความสะอาดช่องปาก หรือจากพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ เช่นสูบบุหรี่ ยังเป็นผลกระทบจากโรคทางระบบบางโรค หรือการได้รับยารักษาโรคทางระบบ เป็นระยะเวลายาวนานอีกด้วย จากการสำรวจสภาวะช่องปาก ผู้สูงอายุจังหวัดรนราธิวาส พบว่า ผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพช่องปากด้วยโรคปริทันต์ ซึ่งการป้องกันและการควบคุมไม่ให้เกิดความผิดปกติ หรือรอยโรคใหม่ในช่องปาก เพื่อคงสภาพการใช้งานให้ได้ในวัยนี้ เป็นสิ่งจำเป็น ที่ต้องให้ความสำคัญ ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าเรื่องของการให้บริการรักษาและฟื้นฟูสภาพดังนั้นการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องสม่ำเสมอ ทั้งโดยตัวผู้สูงอายุเอง หรือโดยผู้ดูแล จึงเป็นหัวใจสำคัญในการควบคุม ป้องกัน และส่งเสริมการมีสุขภาพช่องปากที่ดี “ผู้สูงวัยฟันดี มีใช้งาน สุขภาพดีอายุยืน” ซึ่งมีกิจกรรมให้อบรมให้ความรู้ และบริการ ทันตกรรมผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ทั้งนี้เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกท่าน ได้มีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพเพิ่มขึ้น การมีฟันที่แข็งแรงสามารถใช้บดเคี้ยวได้ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ และนำไปปรับใช้ในการสนับสนุน ให้เกิดการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ในชีวิตประจำวัน อันจะนำไปสู่การลดความรุนแรงของโรคในช่องปาก ให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดี สมวัย สามารถมีฟันใช้งาน โดยปราศจากความเจ็บปวด ตลอดอายุขัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยและสุขภาพช่องปาก ของตนเอง ร้อยละ 70 2. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 100 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเอง 4. เพื่อให้เกิดชมรมผู้สูงอายุและมีความต่อเนื่องยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการผู้สูงอายุฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพในช่องปากเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยและสุขภาพช่องปาก ของตนเอง ร้อยละ 70 2. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 100 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเอง 4. เพื่อให้เกิดชมรมผู้สูงอายุและมีความต่อเนื่องยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้สูงอายุในชมรมที่มีฟันแท้ ได้รับบริการส่งเสริมทันตสุขภาพ ๒. ร้อยละ ๒๐ ของผู้สงอายุที่มีฟันแท้ได้รับบริการทันตกรรม
10.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยและสุขภาพช่องปาก ของตนเอง ร้อยละ 70 2. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 100 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเอง 4. เพื่อให้เกิดชมรมผู้สูงอายุและมีความต่อเนื่องยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการผู้สูงอายุฟันดี  สุขภาพดี  ชีวีมีสุข

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ ๖๒ – L๘๓๖๘ – ๑ – ๔

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประมวล ทองอินทราช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด