กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการก้าวย่างอย่างมีคุณค่า สูงวัยอย่างมีความสุข
รหัสโครงการ 62-5228-3-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศุนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลวัดสน
วันที่อนุมัติ 28 มีนาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 22 พฤษภาคม 2562 - 22 พฤษภาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 22 มิถุนายน 2562
งบประมาณ 23,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ศุนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลวัดสน
พี่เลี้ยงโครงการ นายทนงศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกล
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลวัดสน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.668,100.372place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2562 30 มิ.ย. 2562 23,900.00
รวมงบประมาณ 23,900.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

นักจิตวิทยาสังคมระบุว่า การปรับตัวเข้าสู่บทบาทผู้สูงอายุเป็นเรื่องยาก สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นเพราะงานที่เปลี่ยนเข้าสู่กลุ่มผู้สูงอายุนั้น ขาดกลุ่มสนับสนุน เด็กได้รับการสอนให้เรียนรู้ถึงบทบาทวัยรุ่น และวัยรุ่นได้รีบการฝึกฝนวิธีที่จะเป็นผู้ใหญ่ แต่มีผู้ใหญ่ไม่กี่คนเท่านั้น ที่ได้รับการฝึกฝนที่จะเป็นผู้สูงอายุ คนสมัยใหม่ยังเห็นว่า ค่านิยมทางวัฒนธรรมจารีตประเพณี เป็นเรื่องล้าสมัย ความผูกพันระหว่างพี่น้อง เครือญาติ การกตัญญูกตเวที จะต้องมีขอบเขตจำกัด จึงเกิดลักษณะวัฒนธรรมสมัยใหม่ ที่ต่างคนต่างช่วยตนเอง ตัวใครตัวมัน ผู้ที่จะอยู่ในสังคมสมัยใหม่ได้ จะต้องมีความสามารถแบบพหูสูต รอบรู้ทุกเรื่อง และที่สำคัญต้องพึ่งตนเองได้ ด้วยเหตุนี้ผู้สูงอายุที่จะอยู่ในสงคมไทยอีก 10-20 ปีข้างหน้าจะต้องเป็นผู้สูงอายุที่มีความพร้อมทั้งร่างกาย จิตใจ ความรู้ ความสามารถ กล่าวโดยรวมหมายถึงว่า ผู้สูงอายุจะต้องมีศักยภาพในชุมชนที่เข้มแข็งนั่นเอง ขณะที่มีคนอายุยืนยาวมากขึ้น คนที่อายุ 60 ปีมีโอกาสที่จะอยู่ถึงอายุ 80 ปี จึงอาจจะต้องมีการมองเรื่องผู้สูงอายุกันใหม่ จากภาพของคนแก่ที่ทำอะไรไม่ได้ เจ็บออดแอด ไปสู่อายุวัฒนะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเองได้ 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน 4.เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมด้านผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

1.  ผู็สูงอายุมีความรู้  ทักษะและการปฏิบัติตนที่ดีขึ้น 2.  ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีขึ้น  ดูแลตัวเองได้ดีขึ้น  ไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่นหรือคนในครอบครัว 3.  เกิดความเข้าใจระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน  มีการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน 4.  เกิดกิจกรรมด้านผู้สูงอายุมากขึ้น

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 23.00 0 0.00
22 พ.ค. 62 1. กิจกรรมในช่วงเช้า จัดให้ความรู้เรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์และร่างกายของผู้สูงอายุ และสัดส่วนผู้สูงอายุในสังคมไทย 2. กิจกรรมในช่วงบ่าย จัดให้มีการเรียนรู้เรื่องความเข้าใจคุณค่าของผู็สูงอายุในครอบครัวในสังคมไ 0 23.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 พ.ค. 2562 15:07 น.