กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยวิธี "กิน กอด เล่น เล่า" ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตอหลัง ”
ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางประภาพร แก้วฉาย




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยวิธี "กิน กอด เล่น เล่า" ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตอหลัง

ที่อยู่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62 - L8426 - 3 - 06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 พฤษภาคม 2562 ถึง 25 พฤษภาคม 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยวิธี "กิน กอด เล่น เล่า" ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตอหลัง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยวิธี "กิน กอด เล่น เล่า" ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตอหลัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยวิธี "กิน กอด เล่น เล่า" ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตอหลัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62 - L8426 - 3 - 06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 พฤษภาคม 2562 - 25 พฤษภาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสังเกตและการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตอหลัง ในปีการศึกษา 2561 พบว่า เด็กที่มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ เช่น เด็กสมาธิสั้น เด็กพูดจาไม่เพราะ เด็กไม่เชื่อฟัง เด็กเอาแต่ใจตนเอง ปรับพฤติกรรมยาก ไม่ชอบรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เป็นต้น ปัญหาของเด็กประการหนึ่งที่มีผลกระทบอย่างยิ่งต่อเด็ก คือ การอบรมเลี้ยงดูของครอบครัว เด็กจำนวนหนึ่งอาจได้รับการเลี้ยงดูการกินที่ไม่เหมาะสมอันส่งผลต่อการเจริญเติบโต คุณภาพชีวิตของเด็กทั้งในปัจจุบันและอนาคต นอกจากนี้ปัญหาเด็กติดมือถือส่งผลโดยตรง และโดยอ้อมต่อสุขภาพอนามัยและพัฒนาการตลอดจนการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต ทำให้จำเป็นต้องตระหนักถึงความสำคัญของการอบรมเลี้ยงดู โดยการปลูกฝังให้เด็กปฐมวัยต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกที่เหมาะสมกับวัย มีความสุข ร่างเริง แจ่มใส ได้พัฒนาความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและความเชื่อมันในตนเอง จากการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน เช่น เล่น ฟังนิทาน ร้องเพลง เป็นต้น ประสบการณ์สำคัญที่ควรส่งเสริมประกอบด้วย การรับรู้อารมณ์หรือความรู้สึกของตนเอง การแสดงอารมณ์ที่เป็นสุข การควบคุมอารมณ์และการแสดงออกการกอดจากพ่อแม่ หรือผู้เลี้ยงดูเป็นบุคคลที่มีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการทำให้เด็กรู้สึกเป็นที่รัก อบอุ่น มั่นคง เกิดความรู้สึกปลอดภัย ไว้วางใจ ซึ่งจะส่งผลให้เด็กสร้างความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและเรียนรู้ที่จะสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตอหลัง สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส เห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย “กิน กอด เล่น เล่า” ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตอหลัง ขึ้น โดยให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ใช้กลยุทธ์ “กิน กอด เล่น เล่า” กระตุ้นพัฒนาการลูกให้สมวัย กินคือ ให้เด็กกินอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ถูกต้องตามหลักโภชนาการ กอด คือ กอดให้ความรักความอบอุ่นลูก เล่น คือ ส่งเสริมให้ลูกได้เล่นของเล่นที่เหมาะตามวัย เล่า คือเล่านิทาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาทั้ง 4 ด้านในเด็กปฐมวัย
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า
  3. เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเด็กกับผู้ปกครองด้วยกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้และสาธิต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา เหมาะสมตามวัย
  2. เกิดสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเด็กกับผู้ปกครอง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้และสาธิต

วันที่ 2 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ฟังการบรรยายในหัวข้อ กิน กอด เล่น เล่า 2.จัดนิทรรศการ   - อาหารปลอดภัยในเด็กปฐมวัย
  - โทษจากอาหารกรุบกรอบ 1.3 กิจกรรมการเล่น   - การประดิษฐ์ของเล่นจากวัสดุเหลือใช้ 1.4 กิจกรรมสาธิตการเล่านิทานและสาธิตย้อนกลับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองเด็กที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับกิจกรรม กิน  กอด  เล่น  เล่า และสามารถประดิษฐ์ของเล่นจากวัสดุเหลือใช้

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยวิธี กิน กอด เล่น เล่า ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตอหลัง บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ โดย มีผู้ปกครองเข้าร่วมโครงการ จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 90 ผู้ปกครองเข้าร่วมโครงการจำนวน 45 คน ได้เรียนรู้และมีความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ผู้ปกครองเข้าร่วมโครงการจำนวน 45 คน ได้รับความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของ การกิน การกอด การเล่น และการเล่า ผู้ปกครองเข้าร่วมโครงการจำนวน 45 คน ได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยจด้วยวิธี กิน กอด เล่น เล่า ผู้ปกครองเข้าร่วมโครงการจำนวน 45 คน  ได้เรียนรู้และร่วมทำของเล่นที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จากวัสดุที่่เหลือใช้ ผู้ปกครองเข้าร่วมโครงการจำนวน 45 คน  ให้ความสนใจกระตือรือร้นต่อการปฏิบัติกิจกรรม มีความสุขและสนุกสนาน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาทั้ง 4 ด้านในเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เหมาะสมกับวัย มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มมากขึ้น
50.00 45.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า สามารถนำไปปฏิบัติกับเด็กที่บ้าน
50.00 45.00

 

3 เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเด็กกับผู้ปกครองด้วยกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กที่เข้าร่วมโครงการ มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
50.00 45.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50 45
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย  อารมณ์  จิตใจ  สังคมและสติปัญญาทั้ง 4 ด้านในเด็กปฐมวัย (2) เพื่อให้ผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรม กิน  กอด  เล่น  เล่า (3) เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเด็กกับผู้ปกครองด้วยกิจกรรม กิน  กอด  เล่น  เล่า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และสาธิต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยวิธี "กิน กอด เล่น เล่า" ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตอหลัง

รหัสโครงการ 62 - L8426 - 3 - 06 ระยะเวลาโครงการ 25 พฤษภาคม 2562 - 25 พฤษภาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยวิธี "กิน กอด เล่น เล่า" ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตอหลัง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62 - L8426 - 3 - 06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางประภาพร แก้วฉาย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด