กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ


“ โครงการเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพร่วมใจสืบต่อภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย เจ็บคราใด ใช้สมุนไพร ก่อนไปโรงพยาบาล ปี 2562 ”

ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางธัญสินี สามพุฒ

ชื่อโครงการ โครงการเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพร่วมใจสืบต่อภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย เจ็บคราใด ใช้สมุนไพร ก่อนไปโรงพยาบาล ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62 - L8426 - 1 - 08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 กรกฎาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพร่วมใจสืบต่อภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย เจ็บคราใด ใช้สมุนไพร ก่อนไปโรงพยาบาล ปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพร่วมใจสืบต่อภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย เจ็บคราใด ใช้สมุนไพร ก่อนไปโรงพยาบาล ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพร่วมใจสืบต่อภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย เจ็บคราใด ใช้สมุนไพร ก่อนไปโรงพยาบาล ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62 - L8426 - 1 - 08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 กรกฎาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคเรื้อรังเป็นกลุ่มโรคที่เกิดขึ้นได้ง่าย และมีแนวโน้มของผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทุกๆปี  ผู้ป่วย ไม่ว่าจะเป็นโรคความดันโลหิตสูง  โรคเบาหวาน  ไขมันในเส้นเลือดผิดปกติ  โรคหัวใจ  ไตวายเรื้อรัง ปอดอุดกั้นเรื้อรัง ภาวะข้อเข่าเสื่อมเรื้อรัง โดยที่อาการโรคและภาวะแทรกซ้อนจะมีความรุนแรงมากน้อยแตกต่างกันไป  ในผู้ป่วยแต่ละราย ขึ้นอยู่กับสรีระวิทยาของร่างกาย การถ่ายทอดทางพันธุกรรม พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นการบริโภคอาหาร การพักผ่อน  การออกกำลังกาย และสภาวะทางอารมณ์  การดูแลฟื้นฟูสุขภาพ  ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังด้วยการแพทย์แผนไทย  ซึ่งมีองค์ความรู้ที่สั่งสมมาจากภูมิปัญญาของบรรพบุรุษตั้งแต่อดีต  โดยมีแนวคิดพื้นฐานที่มุ่งเน้นการดูแลรักษาสุขภาพแบบองค์รวม ด้วยกรรมวิธีหรือวิถีทางการแพทย์แผนไทย เช่น ยาสมุนไพร การนวด อบไอน้ำสมุนไพร  การประคบสมุนไพร  การพอกยาสุมยาสมุนไพร  ท่ากายบริหารที่ชื่อฤๅษีดัดตน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและอาหาร รวมถึงการดูแลทางจิตใจ  ผู้ป่วย  ญาติ  และประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่มีความรู้ความเข้าใจ ยังไม่เห็นว่าเขาทำกิจกรรมอะไรกันบ้าง  ขั้นตอนการทำเป็นอย่างไร  ทำแล้วเกิดผลดีอย่างไรกับสุขภาพ ทำให้การเข้าถึงบริการด้านการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังแบบบูรณการด้วยการแพทย์แผนไทย  ยังไม่แพร่หลายหรือครอบคลุมมาก เท่าที่ควร
งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตอหลัง ได้เห็นความสำคัญของการดูแลฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรังดังกล่าว จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วย ญาติ เจ้าหน้าที่ทางการสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงผลดีของการดูแลฟื้นฟูสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังแบบบูรณการด้วยการแพทย์แผนไทย ไม่เพียงแค่จะช่วยฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อลดโอกาสเสี่ยงในการเกิดความรุนแรงของอาการโรค และภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นต่อไปได้อีกด้วย  ทั้งยังก่อให้เกิดเครือข่ายสุขภาพชุมชนเพื่อช่วยในการเผยแพร่ข้อมูลความรู้วิธีการดูแลฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยโรคเรี้อรังแบบบูรณการด้วยการแพทย์แผนไทยแก่ชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด-หญิงระยะให้นมบุตร สามี และบุคคลในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการใช้วิธีทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด-หญิงระยะให้นมบุตร และส่วนร่วมในการดูแลส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพแก่หญิงตั้งครรภ์-หญิงหลังคลอด
  2. เพื่อประเมินคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ และให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะข้อเข่าเสื่อมและการใช้วิธีทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลรักษา-บรรเทาอาการและป้องกันการเกิดข้อเข่าเสื่อม
  3. เพื่อให้ อสม. มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการทางการแพทย์แผนไทยที่ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ ดูแลรักษา และป้องกันโรค และมีความมั่นใจในการเลือกใช้สมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐานเพื่อดูแลป้องกันการเกิดโรคหรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นก่อนไปรพ. ทั้งกับตนเอง ครอบครัว และชุมชนที่ดูแลรับผิดชอบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคุณค่าแพทย์แผนไทยถักทอสายใยรักแห่งครอบครัว
  2. กิจกรรมผู้สูงอายุแจ่มใสห่างไกลข้อเข่าเสื่อม
  3. กิจกรรม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน คุณภาพ ยุคใหม่ ฉลาดใช้สมุนไพร ดูแลไข้ดูแลคน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ 120
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 80
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เครือข่ายชุมชนสร้างเสริมสุขภาพในพื้นรับผิดชอบของรพ.สต.บ้านตอหลัง มีความรู้ความเข้าใจและเกิดการสร้างเสริมสุขภาพร่วมกัน ดำรงสืบต่อภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย และสามารถใช้สมุนไพรที่มีในท้องถิ่นดูแลป้องกันการเกิดโรคหรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นก่อนไปรพ.     2. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลภาวะสุขภาพและองค์ความรู้ท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาด้านสร้างเสริมสุขภาพ การดูแลรักษาและการป้องกันการเกิดโรคของชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคุณค่าแพทย์แผนไทยถักทอสายใยรักแห่งครอบครัว

วันที่ 28 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมคุณค่าแพทย์แผนไทยถักทอสายใยรักแห่งครอบครัว  โดยทำแบบทดสอบก่อนและหลังอบรม  ฟังการบรรยาย  ทฤษฎีความรู้ความเข้าใจ  เรื่องการใช้วิธีทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพ    หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด-หญิงระยะให้นมบุตร และแบ่งกลุ่มเข้าฐานการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการจากหัตถการและสมุนไพร จำนวน 5 ฐาน ได้แก่           ฐานที่ 1 การนวดไทย (สาธิต)           ฐานที่ 2 การประคบสมุนไพร (ปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร และสาธิตวิธีการประคบ)           ฐานที่ 3 การทับหม้อเกลือ (สาธิต)           ฐานที่ 4 การอบไอน้ำสมุนไพร (สาธิต)           ฐานที่ 5 สุขปฏิบัติหลังคลอด  การพันผ้ารัดหน้าท้อง  อาหารและสมุนไพรเพิ่มน้ำนม (ปฏิบัติการพันผ้ารัดหน้าท้อง และสาธิตการออกกำลังกาย เรียนรู้ตัวอย่างอาหารและสมุนไพรเพิ่มน้ำนม)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการใช้วิธีทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด-หญิงระยะให้นมบุตร และส่วนร่วมในการดูแลส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพแก่หญิงตั้งครรภ์-หญิงหลังคลอด

 

80 0

2. กิจกรรมผู้สูงอายุแจ่มใสห่างไกลข้อเข่าเสื่อม

วันที่ 29 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมผู้สูงอายุแจ่มใสห่างไกลข้อเข่าเสื่อม
                  - อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านประเมินคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ           - ผู้สูงอายุทำแบบทดสอบก่อน และหลังอบรม พร้อมฟังการบรรยาย ทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะข้อเข่าเสื่อมและการใช้วิธีทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลรักษา-บรรเทาอาการและป้องกันการเกิดข้อเข่าเสื่อม และแบ่งกลุ่มเข้าฐานการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการจากหัตถการและสมุนไพร จำนวน 4  ฐาน ได้แก่           ฐานที่ 1 การนวดไทย (สาธิตการนวด การทำน้ำมันสมุนไพรและปฏิบัติการ)           ฐานที่ 2 การประคบสมุนไพร (ปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพร และสาธิตวิธีการประคบ)           ฐานที่ 3 การพอกยาสมุนไพร สาธิตและปฏิบัติการ สมุนไพรแห้งบดผงสำหรับทำหัตถการพอกเข่า
              ฐานที่ 4 การบริหารข้อเข่าด้วยวิธีทางการแพทย์แผนไทย (สาธิตและปฏิบัติการการทำฤๅษีดัดตน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุและผู้ดูแลที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะข้อเข่าเสื่อมและการใช้วิธีทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลรักษา-บรรเทาอาการและป้องกันการเกิดข้อเข่าเสื่อม

 

120 0

3. กิจกรรม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน คุณภาพ ยุคใหม่ ฉลาดใช้สมุนไพร ดูแลไข้ดูแลคน

วันที่ 30 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน  คุณภาพ  ยุคใหม่  ฉลาดใช้สมุนไพร  ดูแลไข้ดูแลคน  โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ทำแบบทดสอบก่อนและหลังอบรม  ฟังการบรรยาย  ทฤษฎีความรู้ในวิธีการทางการแพทย์แผนไทยที่ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ ดูแลรักษา และป้องกันโรค การเลือกใช้สมุนไพรในสาธารณสุขมูล ฐานเพื่อดูแลป้องกันการเกิดโรคหรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นก่อนไปรพ.และแบ่งกลุ่มเข้าฐานการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการจากหัตถการและสมุนไพร จำนวน 4  ฐาน ได้แก่           ฐานที่ 1 สมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐานสำหรับโรคหรืออาการเจ็บป่วยในระบบทางเดินอาหาร           ฐานที่ 2 สมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐานสำหรับโรคหรืออาการเจ็บป่วยในระบบทางเดินหายใจ           ฐานที่ 3 สมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐานสำหรับโรคหรืออาการเจ็บป่วยในระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ           ฐานที่ 4 สมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐานสำหรับโรคหรืออาการเจ็บป่วยในระบบประสาท           ฐานที่ 5 สมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐานสำหรับโรคหรืออาการเจ็บป่วยในระบบอื่นๆ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ร่วมกันปลูกสร้างสวนสมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐานประจำทุกหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม. มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการทางการแพทย์แผนไทยที่ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ ดูแลรักษา และป้องกันโรค และมีความมั่นใจในการเลือกใช้สมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐานเพื่อดูแลป้องกันการเกิดโรคหรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นก่อนไปรพ. ทั้งกับตนเอง ครอบครัว และชุมชนที่ดูแลรับผิดชอบ

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด-หญิงระยะให้นมบุตร สามี และบุคคลในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการใช้วิธีทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด-หญิงระยะให้นมบุตร และส่วนร่วมในการดูแลส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพแก่หญิงตั้งครรภ์-หญิงหลังคลอด
ตัวชี้วัด : 1.1 ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย(หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด - หญิงระยะให้นมบุตร สามี และบุคคลในครอบครัว) มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการใช้วิธีทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพ 1.2 สามี และบุคคลในครอบครัว มีส่วนร่วมในการดูแลส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพแก่หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด-หญิงระยะให้นมบุตร
0.00

 

2 เพื่อประเมินคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ และให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะข้อเข่าเสื่อมและการใช้วิธีทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลรักษา-บรรเทาอาการและป้องกันการเกิดข้อเข่าเสื่อม
ตัวชี้วัด : 2.1 ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุในชุมชนพื้นที่รับผิดชอบรพ.สต.บ้านตอหลัง (หมู่ที่ 1 , 3 , 4 และ 6) ได้รับการตรวจประเมินคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อมโดยแพทย์แผนไทย 2.2 ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะข้อเข่าเสื่อมและการใช้วิธีทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลรักษา - บรรเทาอาการและป้องกันการเกิดข้อเข่าเสื่อม
0.00

 

3 เพื่อให้ อสม. มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการทางการแพทย์แผนไทยที่ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ ดูแลรักษา และป้องกันโรค และมีความมั่นใจในการเลือกใช้สมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐานเพื่อดูแลป้องกันการเกิดโรคหรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นก่อนไปรพ. ทั้งกับตนเอง ครอบครัว และชุมชนที่ดูแลรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : 3.1 ร้อยละ 100 ของ อสม. ในชุมชนพื้นที่รับผิดชอบรพ.สต.บ้านตอหลัง (หมู่ที่ 1,3,4 และ 6) มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการเลือกใช้สมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐานเพื่อดูแลป้องกันการเกิดโรคหรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นก่อนไปรพ. 3.2 สร้างสวนสมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐาน ประจำทุกหมู่บ้าน ภายใต้การดูแลและใช้สอยร่วมกันของอสม.และชุมชน และ เชิดชูเกียรติสวนสมุนไพรดีเด่นผ่านเวทีการประกวดแข่งขัน สวนสมุนไพรดีเด่นประจำพื้นที่
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 260
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ 120
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 80
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด-หญิงระยะให้นมบุตร สามี และบุคคลในครอบครัว มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการใช้วิธีทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด-หญิงระยะให้นมบุตร และส่วนร่วมในการดูแลส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพแก่หญิงตั้งครรภ์-หญิงหลังคลอด (2) เพื่อประเมินคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ และให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะข้อเข่าเสื่อมและการใช้วิธีทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลรักษา-บรรเทาอาการและป้องกันการเกิดข้อเข่าเสื่อม (3) เพื่อให้ อสม. มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการทางการแพทย์แผนไทยที่ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ ดูแลรักษา และป้องกันโรค และมีความมั่นใจในการเลือกใช้สมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐานเพื่อดูแลป้องกันการเกิดโรคหรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นก่อนไปรพ. ทั้งกับตนเอง ครอบครัว และชุมชนที่ดูแลรับผิดชอบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคุณค่าแพทย์แผนไทยถักทอสายใยรักแห่งครอบครัว (2) กิจกรรมผู้สูงอายุแจ่มใสห่างไกลข้อเข่าเสื่อม (3) กิจกรรม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน  คุณภาพ  ยุคใหม่  ฉลาดใช้สมุนไพร  ดูแลไข้ดูแลคน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพร่วมใจสืบต่อภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย เจ็บคราใด ใช้สมุนไพร ก่อนไปโรงพยาบาล ปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62 - L8426 - 1 - 08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธัญสินี สามพุฒ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด