กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการสำหรับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาใหม่ ประจำปี 2562
รหัสโครงการ 62-L2487-3-26
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาใหม่
วันที่อนุมัติ 13 มีนาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2562
งบประมาณ 26,385.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนิอาบีด๊ะ สาแล๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.282,102.008place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 65 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจัยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กประกอบด้วยพันธุกรรมและสภาพแวดล้อมอื่นๆ เช่น อาหารการกิน หรือ โภชนาการ การออกกำลังกาย ดนตรีและศิลปะ ความรัก ความท้าทายจากกิจกรรมและสิ่งแวดล้อมต่างๆ พัฒนาการเป็นทักษะและความสามารถเฉพาะตามช่วงอายุเด็ก จึงต้องได้รับการส่งเสริมพัฒนาการโดยการกระตุ้นการทำงานของสมอง อารมณ์ ร่างกาย และสังคม ตามช่วงจังหวะของศักยภาพการเรียนรู้ในแต่ละด้านอย่างเหมาะสม จากการติดตามเฝ้าระวังทางภาวะโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาใหม่ พบเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เนื่องจากเป้าหมายส่วนใหญ่ยังบริโภคอาหารประเภทกรุบกรอบมากขึ้น รับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ด้วยปัจจัยต่างๆ เช่น สังคม เศรษฐกิจ รวมไปถึงการขาดความรู้ความเข้าใจ    ด้านโภชนา ขาดการใส่ใจดูแล เท่าที่ควรของพ่อแม่ผู้ปกครองที่ดูแลเด็ก เป็นผลให้เด็กมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์    ซึ่งอาจส่งผลต่อภาวะโภชนาการและพัฒนาการในอนาคตต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ผู้ปกครอง และบุคลากร ได้รับความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการสำหรับเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  1. ศูนย์พัฒนาเล็กเด็กมีปัญหาเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ ไม่เกินร้อยละ 10
  2. ผู้ปกครองเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาใหม่ ร้อยละ 90 มีความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก
0.00
2 2. สาธิตการจัดปรุงอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ จำนวน 3 ครั้ง ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้แก่ผู้ปกครองและบุคลากร
  1. ผู้ปกครองเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาใหม่ ร้อยละ 90 มีความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กและ สามารถประกอบอาหารให้เด็กรับประทานถูกต้องตามหลักโภชนาการ
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : ผู้ปกครอง และบุคลากร ได้รับความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการสำหรับเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2. สาธิตการจัดปรุงอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ จำนวน 3 ครั้ง ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้แก่ผู้ปกครองและบุคลากร

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 ส.ค. 62 - 30 ก.ย. 62 กิจกรรมสาธิตและฝึกปฏิบัติการ ครั้งที่ 2 3,600.00 -
1 ส.ค. 62 - 30 ก.ย. 62 สาธิตและฝึกปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 3,600.00 -
14 ส.ค. 62 กิจกรรมประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ 25,585.00 -
14 ส.ค. 62 สาธิตและฝึกปฏิบัติการ ครั้งที่ 3 3,600.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

ขั้นที่ 1 เตรียมการก่อนดำเนินงานตามโครงการ 1 จัดทำโครงการและเสนอโครงการ เพื่อขออนุมัติ 2 จัดประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดแนวทางการทำงาน และประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมาย
ขั้นที่ ๒ ดำเนินการตามโครงการ 3. กิจกรรมประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่องเกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการในเด็กและหลักโภชนาการในกลุ่มเด็ก ให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้เกี่ยวข้องและผู้ปกครอง 4. จัดการฝึกสาธิต ทักษะการปรุงอาหาร ให้กับผู้ปกครอง จำนวน 3 ครั้ง
ขั้นที่ 3 สรุปผลและวิเคราะห์ข้อมูล
1. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแบบรายงาน ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดลง
2 ปัญหาภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์และนำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดลง 3 ทำให้ผู้ปกครองของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความรู้ ความเข้าใจภาวะโภชนาการอาหารในเด็กมากขึ้น 4 ทำให้ผู้ปกครองของเด็กตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 พ.ค. 2562 14:03 น.