โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางศุภรพลอยอุบล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.)
ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-14 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2560 ถึง 26 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2560 - 26 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งให้ความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ด้วยการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ประชาชนมีความรอบรู้ การเข้าถึงข้อมูลและตัดสินใจด้านสุขภาพได้ดีด้วยการพัฒนาระบบเครือข่ายต่อยอดขยายจากชุมชนที่มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เข้าไปถึงทุกครัวเรือน โดยส่งเสริมให้คนในครอบครัว มาเป็นอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้แต่ละครอบครัวมีคนช่วยดูแลสุขภาพคนในครอบครัวให้ครอบคลุมทั่วถึง และกลับมาพึ่งตนเองได้ โดยครอบครัวหนึ่ง จำเป็นต้องมีอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) อย่างน้อย 1 คน โดยมีเป้าหมายการพัฒนา อสค. ในระยะเวลา 5 ปีจำนวน4 ล้านคน ทั่วประเทศ เริ่มจากกลุ่มเป้าหมาย ญาติและ/หรือผู้ดูแลครอบครัวผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (CKD) ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)ก่อนโดยใช้วิธีจัดอบรมแบบฝึกปฏิบัติสำหรับในปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งจำนวนเป้าหมายดำเนินการจังหวัดยะลา จำนวน2,998 คน ซึ่งจากการประชุมจัดทำแผนการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสค. ได้กำหนดเป้าหมายดำเนินการในแต่ละอำเภอ เพื่อให้สามารถดำเนินการได้ไม่ต่ำกว่าเป้าหมาย จึงมีจำนวนเป้าหมายที่จะดำเนินการในภาพรวมจังหวัดยะลาทั้งสิ้น 3,340 คน เป้าหมายของอำเภอยะหาจำนวน540 คน โดยมีเป้าหมายของตำบลยะหาจำนวน 78คน โดยมีการดำเนินงาน 1)การคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย 2) เรียนรู้ฝึกปฏิบัติ : ผู้ดูแลครอบครัวผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (CKD) จำนวน 6 เรื่อง ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) จำนวน 3 เรื่องและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จำนวน 3 เรื่อง
ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพและมีความคล่องตัวตามเป้าหมายที่เพิ่มขึ้นโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ตำบลยะหาอำเภอยะหาจังหวัดยะลา ประจำปีงบประมาณ 2560ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อต่อยอดการสร้างความรู้จากชุมชนไปถึงทุกครัวเรือน
2 เพื่อให้ครอบครัวได้รับการดูแลสุขภาพและถ่ายทอดความรู้สม่ำเสมอ
3 เพื่อให้คนในแต่ละครอบครัวทำหน้าที่ในการดูแลสุขภาพครอบครัวของตนเอง เนื่องจากคนในครอบครัวเป็นบุคคลที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด
4 เพื่อให้แต่ละครอบครัว มี อสค. อย่างน้อย 1 คน เป็นผู้ดูแลสุขภาพ ประสานและเชื่อมโยง ส่งต่อกับ อสม. ซึ่งเป็นแกนนำขับเคลื่อนการดูแลและจัดการสุขภาพของชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
78
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) มีศักยภาพและเชื่อมโยงการดูแลสุขภาพของบุคคลและครอบครัวได้อย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน
จากการดำเนินงาน โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ตำบลยะหา อำเภอ
ยะหา จังหวัดยะลา ประจำปีงบประมาณ 2560 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อต่อยอดการสร้างความรู้จากชุมชนไปถึงทุกครัวเรือน เพื่อให้ครอบครัวได้รับการดูแลสุขภาพและถ่ายทอดความรู้สม่ำเสมอ เพื่อให้คนในแต่ละครอบครัวทำหน้าที่ในการดูแลสุขภาพครอบครัวของตนเอง เนื่องจากคนในครอบครัวเป็นบุคคลที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด เพื่อให้แต่ละครอบครัว มี อสค. อย่างน้อย 1 คน เป็นผู้ดูแลสุขภาพ ประสานและเชื่อมโยง ส่งต่อกับ อสม. ซึ่งเป็นแกนนำขับเคลื่อนการดูแลและจัดการสุขภาพของชุมชน
กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงานในครั้งนี้เป็น ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง (CKD) จำนวน 10 คนผู้ ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) จำนวน 29 คน ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จำนวน 39 คน
ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง (CKD) ,ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) ,ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จำนวน 78 คน ได้รับการอบรม อสค.จำนวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และ
ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง (CKD) ,ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) ,ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จำนวน 78 คน ได้รับการประเมินศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองของสมาชิกในครอบครัว 25 คน (จากการสุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 30 )
ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง (CKD) ,ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) ,ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) (จากการสุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 30 ) จำนวน 25 คน มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองของสมาชิกในครอบครัวจำนวน
15 คน คิดเป็นร้อยละ 60 (ร้อยละ 50 มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองของสมาชิกในครอบครัว)
ระยะเวลาการดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อต่อยอดการสร้างความรู้จากชุมชนไปถึงทุกครัวเรือน
2 เพื่อให้ครอบครัวได้รับการดูแลสุขภาพและถ่ายทอดความรู้สม่ำเสมอ
3 เพื่อให้คนในแต่ละครอบครัวทำหน้าที่ในการดูแลสุขภาพครอบครัวของตนเอง เนื่องจากคนในครอบครัวเป็นบุคคลที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด
4 เพื่อให้แต่ละครอบครัว มี อสค. อย่างน้อย 1 คน เป็นผู้ดูแลสุขภาพ ประสานและเชื่อมโยง ส่งต่อกับ อสม. ซึ่งเป็นแกนนำขับเคลื่อนการดูแลและจัดการสุขภาพของชุมชน
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 100 ของ อสค.ตามเป้าหมายได้รับการอบรม และร้อยละ 50 มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองของสมาชิกในครอบครัว
ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง (CKD) ,ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) ,ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)จำนวน78คน ต้องได้รับการอบรม อสค.จำนวน 78 คน
อสค. จำนวน78คน มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองของสมาชิกในครอบครัว 39คน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
78
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
78
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อต่อยอดการสร้างความรู้จากชุมชนไปถึงทุกครัวเรือน
2 เพื่อให้ครอบครัวได้รับการดูแลสุขภาพและถ่ายทอดความรู้สม่ำเสมอ
3 เพื่อให้คนในแต่ละครอบครัวทำหน้าที่ในการดูแลสุขภาพครอบครัวของตนเอง เนื่องจากคนในครอบครัวเป็นบุคคลที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด
4 เพื่อให้แต่ละครอบครัว มี อสค. อย่างน้อย 1 คน เป็นผู้ดูแลสุขภาพ ประสานและเชื่อมโยง ส่งต่อกับ อสม. ซึ่งเป็นแกนนำขับเคลื่อนการดูแลและจัดการสุขภาพของชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางศุภรพลอยอุบล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางศุภรพลอยอุบล
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-14 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2560 ถึง 26 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2560 - 26 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งให้ความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ด้วยการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ประชาชนมีความรอบรู้ การเข้าถึงข้อมูลและตัดสินใจด้านสุขภาพได้ดีด้วยการพัฒนาระบบเครือข่ายต่อยอดขยายจากชุมชนที่มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เข้าไปถึงทุกครัวเรือน โดยส่งเสริมให้คนในครอบครัว มาเป็นอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้แต่ละครอบครัวมีคนช่วยดูแลสุขภาพคนในครอบครัวให้ครอบคลุมทั่วถึง และกลับมาพึ่งตนเองได้ โดยครอบครัวหนึ่ง จำเป็นต้องมีอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) อย่างน้อย 1 คน โดยมีเป้าหมายการพัฒนา อสค. ในระยะเวลา 5 ปีจำนวน4 ล้านคน ทั่วประเทศ เริ่มจากกลุ่มเป้าหมาย ญาติและ/หรือผู้ดูแลครอบครัวผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (CKD) ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)ก่อนโดยใช้วิธีจัดอบรมแบบฝึกปฏิบัติสำหรับในปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งจำนวนเป้าหมายดำเนินการจังหวัดยะลา จำนวน2,998 คน ซึ่งจากการประชุมจัดทำแผนการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสค. ได้กำหนดเป้าหมายดำเนินการในแต่ละอำเภอ เพื่อให้สามารถดำเนินการได้ไม่ต่ำกว่าเป้าหมาย จึงมีจำนวนเป้าหมายที่จะดำเนินการในภาพรวมจังหวัดยะลาทั้งสิ้น 3,340 คน เป้าหมายของอำเภอยะหาจำนวน540 คน โดยมีเป้าหมายของตำบลยะหาจำนวน 78คน โดยมีการดำเนินงาน 1)การคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย 2) เรียนรู้ฝึกปฏิบัติ : ผู้ดูแลครอบครัวผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (CKD) จำนวน 6 เรื่อง ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) จำนวน 3 เรื่องและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จำนวน 3 เรื่อง ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพและมีความคล่องตัวตามเป้าหมายที่เพิ่มขึ้นโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ตำบลยะหาอำเภอยะหาจังหวัดยะลา ประจำปีงบประมาณ 2560ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อต่อยอดการสร้างความรู้จากชุมชนไปถึงทุกครัวเรือน 2 เพื่อให้ครอบครัวได้รับการดูแลสุขภาพและถ่ายทอดความรู้สม่ำเสมอ 3 เพื่อให้คนในแต่ละครอบครัวทำหน้าที่ในการดูแลสุขภาพครอบครัวของตนเอง เนื่องจากคนในครอบครัวเป็นบุคคลที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด 4 เพื่อให้แต่ละครอบครัว มี อสค. อย่างน้อย 1 คน เป็นผู้ดูแลสุขภาพ ประสานและเชื่อมโยง ส่งต่อกับ อสม. ซึ่งเป็นแกนนำขับเคลื่อนการดูแลและจัดการสุขภาพของชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 78 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) มีศักยภาพและเชื่อมโยงการดูแลสุขภาพของบุคคลและครอบครัวได้อย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผลการดำเนินงาน จากการดำเนินงาน โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ตำบลยะหา อำเภอ ยะหา จังหวัดยะลา ประจำปีงบประมาณ 2560 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อต่อยอดการสร้างความรู้จากชุมชนไปถึงทุกครัวเรือน เพื่อให้ครอบครัวได้รับการดูแลสุขภาพและถ่ายทอดความรู้สม่ำเสมอ เพื่อให้คนในแต่ละครอบครัวทำหน้าที่ในการดูแลสุขภาพครอบครัวของตนเอง เนื่องจากคนในครอบครัวเป็นบุคคลที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด เพื่อให้แต่ละครอบครัว มี อสค. อย่างน้อย 1 คน เป็นผู้ดูแลสุขภาพ ประสานและเชื่อมโยง ส่งต่อกับ อสม. ซึ่งเป็นแกนนำขับเคลื่อนการดูแลและจัดการสุขภาพของชุมชน
กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงานในครั้งนี้เป็น ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง (CKD) จำนวน 10 คนผู้ ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) จำนวน 29 คน ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จำนวน 39 คน ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง (CKD) ,ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) ,ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จำนวน 78 คน ได้รับการอบรม อสค.จำนวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และ ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง (CKD) ,ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) ,ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จำนวน 78 คน ได้รับการประเมินศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองของสมาชิกในครอบครัว 25 คน (จากการสุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 30 ) ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง (CKD) ,ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) ,ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) (จากการสุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 30 ) จำนวน 25 คน มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองของสมาชิกในครอบครัวจำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 60 (ร้อยละ 50 มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองของสมาชิกในครอบครัว)
ระยะเวลาการดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อต่อยอดการสร้างความรู้จากชุมชนไปถึงทุกครัวเรือน
2 เพื่อให้ครอบครัวได้รับการดูแลสุขภาพและถ่ายทอดความรู้สม่ำเสมอ
3 เพื่อให้คนในแต่ละครอบครัวทำหน้าที่ในการดูแลสุขภาพครอบครัวของตนเอง เนื่องจากคนในครอบครัวเป็นบุคคลที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด
4 เพื่อให้แต่ละครอบครัว มี อสค. อย่างน้อย 1 คน เป็นผู้ดูแลสุขภาพ ประสานและเชื่อมโยง ส่งต่อกับ อสม. ซึ่งเป็นแกนนำขับเคลื่อนการดูแลและจัดการสุขภาพของชุมชน ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 100 ของ อสค.ตามเป้าหมายได้รับการอบรม และร้อยละ 50 มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองของสมาชิกในครอบครัว ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง (CKD) ,ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (LTC) ,ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)จำนวน78คน ต้องได้รับการอบรม อสค.จำนวน 78 คน อสค. จำนวน78คน มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองของสมาชิกในครอบครัว 39คน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 78 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 78 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อต่อยอดการสร้างความรู้จากชุมชนไปถึงทุกครัวเรือน
2 เพื่อให้ครอบครัวได้รับการดูแลสุขภาพและถ่ายทอดความรู้สม่ำเสมอ
3 เพื่อให้คนในแต่ละครอบครัวทำหน้าที่ในการดูแลสุขภาพครอบครัวของตนเอง เนื่องจากคนในครอบครัวเป็นบุคคลที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด
4 เพื่อให้แต่ละครอบครัว มี อสค. อย่างน้อย 1 คน เป็นผู้ดูแลสุขภาพ ประสานและเชื่อมโยง ส่งต่อกับ อสม. ซึ่งเป็นแกนนำขับเคลื่อนการดูแลและจัดการสุขภาพของชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางศุภรพลอยอุบล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......