กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่เกิดจากยุงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม ”

ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายนครกาเห็ยม นวก.สาธารณสุขชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่เกิดจากยุงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม

ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L8402-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่เกิดจากยุงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่เกิดจากยุงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่เกิดจากยุงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L8402-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,418.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหนะของโรค เป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย และยังเป็นปัญหาสาธารณสุขทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศในเขตร้อนชื้น โรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะนำโรค มีหลายโรค โดยโรคที่รู้จักกันโดยทั่วไป ได้แก่ โรคไข้เลือดออกโรคชิคุกุนยา โรคไข้ซิการ์ เป็นต้น และแพร่กระจายได้รวดเร็วโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูฝนซึ่งถ้าไม่มีการดูแลรักษาอย่างถูกต้องและรวดเร็วแล้วอาจจะทำให้ผู้ป่วยมีอันตรายรุนแรงถึงชีวิตได้ สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี ๒๕๕๙ ข้อมูลจากสำนักงานโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่า จำนวนผู้ป่วย ๒๖,๕๖๔ รายคิดเป็นอัตราป่วย๔๐.๖๐ คนต่อแสนประชากรจำนวนผู้ป่วยตาย ๒๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วยตาย ๐.๐๘ คนต่อแสนประชากร(กรมควบคุมโรค, ๒ สิงหาคม ๒๕๕๙)จังหวัดสงขลา มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกทั้งหมด๙๐๖ราย มีรายงานผู้ป่วยตาย ๒ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๕๐๙.๕๕ต่อแสนประชากร (สสจ.สงขลา,สิงหาคม ๒๕๕๙) โดยปี ๒๕๕๙ ตำบลคูหาใต้ พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวนทั้งสิ้น๑๐ รายคิดเป็นอัตราป่วย ๙๔.๘๕ต่อประชากรแสนคน(สสอ.รัตภูมิ, ๒๕๕๙) พบว่ามีอัตราป่วยที่เกินตัวชี้วัดที่กำหนด ที่อัตราป่วยไม่เกิน๕๐คนต่อแสนประชากร โดยพบมากที่สุดในพื้นที่บ้านทุ่งมะขาม หมู่ที่ ๑๐ จำนวน๘รายคิดเป็นอัตราป่วย ๒๒๕.๘๕คนต่อแสนประชากรสถานการณ์ของโรคซิการ์ ซึ่งแม้ยังไม่มีรายงานผู้ป่วยในพื้นที่จังหวัดสงขลาและในพื้นที่อำเภอรัตภูมิ แต่กำลังมีการระบาดอย่างรวดเร็วในประเทศพื้นที่ใกล้เคียง ซึ่งใน ปี ๒๕๖๐ มีแนวโน้มจะมีการระบาดในพื้นที่ประเทศไทยและจังหวัดสงขลาได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขาม จึงเห็นควรต้องมีการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรค เนื่องด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคอื่นๆ ที่เกิดจากยุง เป็นอันตรายสามารถทำให้เกิดเสียชีวิตได้ รวมทั้งส่งผลทั้งทางด้านสังคม ทางเศรษฐกิจ และทางจิตใจแก่ประชาชนในพื้นที่ได้ สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขามมีจำนวน๑,๐๘๐หลังคาเรือนประชากรทั้งสิ้น๓,๖๑๒ คน พบว่ามีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกย้อนหลัง๓ปี ในปี ๒๕๕๗, ๒๕๕๘ และ ๒๕๕๙มีจำนวน ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน๑๐ราย,๙ราย และ ๑๐ ราย ยังไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคชิคุนกุนยาและโรคไข้ซิการ์สำหรับปี ๒๕๖๐ ตั้งแต่วันที่ ๑มกราคม ถึง วันที่ ๒๐กุมภาพันธ์๒๕๖๐รพ.สต.ทุ่งมะขาม แม้ยังไม่พบผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่แล้ว แต่ได้พบผู้ป่วยสงสัยด้วยโรคไข้เลือดออกแล้ว จำนวน ๓ ราย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขามจึงเห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่เกิดจากยุงในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมะขาม ปี ๒๕๖๐ เพื่อป้องกันและลดปัญหาโรคติดต่อที่เกิดจากยุงในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคติดต่อที่เกิดจากยุง
  2. 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 450
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. เกิดความร่วมมือของเครือข่ายบริการสุขภาพในการดำเนินกิจกรรมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การควบคุมและป้องกันโรคที่เกิดจากยุงในชุมชน ๒. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ๓. ประชาชนมีความรู้ สามารถควบคุมและป้องกันโรคที่เกิดจากยุงในครัวเรือนและชุมชนได้ ๔. แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนพื้นที่ ได้รับการควบคุมละกำจัดอย่างถูกต้อง๕ นักเรียน มีความรู้และสามารถดูแล ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. วัสดุสำหรับการอบรมนวัตกรรม (ปูนแดงน้ำขิง, ตะไคร้หอมไล่ยุง, ขวดน้ำตาลกำจัดยุง)

    วันที่ 29 สิงหาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมนวัตกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อบรมนวัตกรรม

     

    0 0

    2. ค่าวิทยากร

    วันที่ 29 สิงหาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    วิทยากร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วิทยากร

     

    0 0

    3. อบรมการป้องกันและเฝ้าวังโรคติดต่อที่เกิดจากยุง นักเรียนโรงเรียนมัธยมสิริวัณวรี ๒ จำนวน ๕๐ คน

    วันที่ 29 สิงหาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมการป้องกันและเฝ้าวังโรคติดต่อที่เกิดจากยุง นักเรียนโรงเรียนมัธยมสิริวัณวรี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อบรมการป้องกันและเฝ้าวังโรคติดต่อที่เกิดจากยุง นักเรียนโรงเรียนมัธยมสิริวัณวรี

     

    50 0

    4. ค่าเครื่องดื่มสำหรับจัดกิจกรรม Big Cleanin Day ๒ ครั้ง จำนวน ๘๐ คนๆละ ๒ มื้อๆละ ๒๐ บาท(๘๐x๒x๒๐)

    วันที่ 29 กันยายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรม Big Cleanin Day

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรม Big Cleanin Day

     

    0 0

    5. ถ่ายเอกสารแบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย จำนวน ๑,๐๘๐ หลังคาเรือน

    วันที่ 29 กันยายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    ถ่ายเอกสารแบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย จำนวน ๑,๐๘๐ หลังคาเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถ่ายเอกสารแบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย จำนวน ๑,๐๘๐ หลังคาเรือน

     

    0 0

    6. สเปรย์กำจัดยุงลายสำหรับบ้านผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน ๕๐ กระป๋อง

    วันที่ 29 กันยายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    สเปรย์กำจัดยุงลายสำหรับบ้านผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน ๕๐ กระป๋อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สเปรย์กำจัดยุงลายสำหรับบ้านผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน ๕๐ กระป๋อง

     

    0 0

    7. วัสดุสำหรับจัดกิจกรรมBig Cleaning Day(ถุงดำ) จำนวน ๒๐ แพ็ค

    วันที่ 29 กันยายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    วัสดุสำหรับจัดกิจกรรมBig Cleaning Day(ถุงดำ) จำนวน ๒๐ แพ็ค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วัสดุสำหรับจัดกิจกรรมBig Cleaning Day(ถุงดำ) จำนวน ๒๐ แพ็ค

     

    0 0

    8. อบรมให้ความรู้กับ อสม.และผู้นำชุมชน เรื่องโรคติดต่อที่เกิดจากยุง เช่น โรคไข้เลือดออก โรคซิการ์และโรคชิคุนกุนยา เป็นต้น และการใช้นวัตกรรมการกำจัดลูกน้ำและยุงในบ้าน

    วันที่ 5 เมษายน 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้กับ อสม.และผู้นำชุมชน เรื่องโรคติดต่อที่เกิดจากยุง เช่น โรคไข้เลือดออก โรคซิการ์และโรคชิคุนกุนยา เป็นต้น และการใช้นวัตกรรมการกำจัดลูกน้ำและยุงในบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อบรมให้ความรู้กับ อสม.และผู้นำชุมชน เรื่องโรคติดต่อที่เกิดจากยุง เช่น โรคไข้เลือดออก โรคซิการ์และโรคชิคุนกุนยา เป็นต้น และการใช้นวัตกรรมการกำจัดลูกน้ำและยุงในบ้าน

     

    50 0

    9. ค่าถ่ายเอกสารใบความรู้โรคติดต่อที่เกิดจากยุง 2 หน้า

    วันที่ 6 เมษายน 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    ถ่ายเอกสารใบความรู้โรคติดต่อที่เกิดจากยุง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถ่ายเอกสารใบความรู้โรคติดต่อที่เกิดจากยุง

     

    0 0

    10. โลชั่นป้องกันยุงสำหรับผู้ป่วย

    วันที่ 6 เมษายน 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    โลชั่นป้องกันยุงสำหรับผู้ป่วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โลชั่นป้องกันยุงสำหรับผู้ป่วย

     

    0 0

    11. จัดจ้างป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด ๑.๒x๒.๔ ตร.ม. พร้อมโครงไม้ จำนวน 10 ป้าย

    วันที่ 29 สิงหาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    ไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ

     

    0 0

    12. อบรมให้ความรู้กับ อสม.และผู้นำชุมชน เรื่องโรคติดต่อที่เกิดจากยุง เช่น โรคไข้เลือดออก โรคซิการ์และโรคชิคุนกุนยา เป็นต้น และการใช้นวัตกรรมการกำจัดลูกน้ำและยุงในบ้าน

    วันที่ 15 มกราคม 2562

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้กับ อสม.และผู้นำชุมชน เรื่องโรคติดต่อที่เกิดจากยุง เช่น โรคไข้เลือดออก โรคซิการ์และโรคชิคุนกุนยา เป็นต้น และการใช้นวัตกรรมการกำจัดลูกน้ำและยุงในบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อบรมให้ความรู้กับ อสม.และผู้นำชุมชน เรื่องโรคติดต่อที่เกิดจากยุง เช่น โรคไข้เลือดออก โรคซิการ์และโรคชิคุนกุนยา เป็นต้น และการใช้นวัตกรรมการกำจัดลูกน้ำและยุงในบ้าน

     

    80 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ประชุมชี้แจงแผนงานโครงการอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้นำชุมชน จำนวน 80 คน เพื่อหาแนวทางการดำเนินงานโครงการในชุมชน โดยมีแนวทางการดำเนินงานอบรมให้ความรู้ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกให้กับ อสม.และผู้นำชุมชน อบรมการใช้นวัตกรรมในการควบคุมโรคติดต่อที่เกิดจากยุง จำนวน 1 วัน โดยการทำตะไคร่หอมไล่ยุง การทำปูนแดงฆ่ายุงลาย ในวันที่ 5 เมษายน 2561 มีการอบรมแกนนำเฝ้าระวังโรคติดต่อที่เกิดจากยุง จำนวน 50 คน ในวันที่ 12 พฤษภาคม 2561 เพื่อเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังแจ้งข่าวสารด้านโรคติดต่อที่เกิดจากยุงในพื้นที่ รพ.สต.ทุ่งมะขาม หลักจากการดำเนินการอบรม อสม.และแกนนำเฝ้าระวังฯ ได้จัดกิจกรรม Big Cleaning Day ในพื้นที่ รพ.สต.ทุ่งมะขาม จำนวน 2 ครั้ง ในช่วง มิถุนายน 2561 และเดือนธันวาคม 2561 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ในกิจกรรมดำเนินการกำจัดขยะในชุมชน สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพื้นที่เฝ้าระวังอันตรายจากโรคติดต่อที่เกิดจากยุง ทั้งในวัดและโรงเรียน รวมทั้งหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ ทั้งให้ อสม. ได้มีการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทุกเดือน ซึ่งได้ค่า CI มีแนวโน้มที่ลดลง สำหรับในกรณีผู้ป่วย และผู้ป่วยสงสัยป่วยด้วยโรคติดต่อที่เกิดจากยุง ได้ประสานทางกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลคูหาใต้ ลงพื้นที่ควบคุมการระบาดของโรค ด้วยการสอบสวนโรค สำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย แจกทรายทีมีฟอส สเปรย์กำจัดยุง และโลชั่นทากันยุง บ้านผู้ป่วยและบ้านใกล้เคียง รัศมี 100 เมตร ซึ่งในปี 2560 มีผู้ป่วยไข้เลือดออก ทั้งหมด 2 ราย ผู้ป่วยสงสัยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 8 ราย ลงพื้นที่ สอบสวนและควบคุมโรคทุกราย ได้ให้สเปรย์กำจัดยุงลายผู้ป่วยและบ้านใกล้เคียง รวม 50 กระป๋อง โลชั่นป้องกันยุงลาย จำนวน 250 ซอง และดำเนินการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย จัดให้มีป้ายประชาสัมพันธ์โครงการและอันตรายจากโรคไข้เลือดออกในชุมชน หมู่บ้านละ 1 แผ่นป้าย เพื่อเผยแพร่อันตรายและการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่เกิดจากยุง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคติดต่อที่เกิดจากยุง
    ตัวชี้วัด : อัตราป่วยไข้เลือดออกลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ปี
    0.00

     

    2 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ครัวเรือนในพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.ทุ่งมะขาม ได้รับการพ่นหมอกควันกำจัดยุงทุกหลังคาเรือน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 450
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 450
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคติดต่อที่เกิดจากยุง (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่เกิดจากยุงในชุมชน รพ.สต.ทุ่งมะขาม จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L8402-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายนครกาเห็ยม นวก.สาธารณสุขชำนาญการ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด