โครงการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของตัวแทนภาคประชาชนในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของตัวแทนภาคประชาชนในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
น.ส.รูซีลาโตะกีเล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของตัวแทนภาคประชาชนในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา
ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2560 ถึง 26 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของตัวแทนภาคประชาชนในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของตัวแทนภาคประชาชนในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของตัวแทนภาคประชาชนในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2560 - 26 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,875.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์โรคติดต่ออำเภอยะหา เมื่อจำแนกประเภทของโรค ได้แก่ โรคทางเดินอาหารและน้ำ โรคติดต่อนำโดยแมลง โรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เป็นต้น โรคทางเดินอาหารและน้ำมีรายงานผู้ป่วยเข้ารับการรักษามากที่สุดเป็นอันดับที่ 1 ของโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง เมื่อศึกษาข้อมูลย้อนหลัง 5 ปีของอำเภอยะหา (พ.ศ.2555-2559) พบอัตราป่วย 238.96,234.14,179.5,175.43และ 473.49 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ และเมื่อพิจารณารายตำบลพบว่า ในปี 2559 ตำบลยะหามีสถิติการเกิดโรคอุจจาระร่วง คิดเป็นอัตราป่วย 1,102.54 ต่อประชากรแสนคนและมีอัตราป่วยมากที่สุดเมื่อเทียบกับตำบลอื่นๆในอำเภอยะหา และยังเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวังอันดับที่หนึ่งของโรคทางระบาดวิทยา ซึ่งเมื่อเกิดโรคอุจจาระร่วงแล้วทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษา ส่งผลกระทบต่อครอบครัว ถ้าผู้ป่วยเป็นผู้ที่หารายได้ให้ครอบครัว เป็นต้น ช่วงอายุที่พบมากที่สุด ได้แก่ อายุ 0-5 ปี สำหรับด้านความรุนแรงของโรค โรคอุจจาระร่วง หมายถึง การถ่ายอุจจาระเหลวเกิน 3 ครั้งขึ้นไปหรือถ่ายเหลวผิดปกติหรือถ่ายบ่อยกว่าปกติ มักจะพูดติปากว่า ท้องร่วง ท้องเสีย ในบางครั้งผู้ป่วยอาจมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ปวดบิดในท้อง ท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน โดยโรคนี้แบ่งได้เป็น 2 ชนิดคือแบบเฉียบพลัน (Acute) และแบบเรื้อรัง (Chronic) ผู้ป่วยที่เป็นอุจจาระร่วงมักหายภายใน 2 สัปดาห์ ส่วนใหญ่หายได้เอง แต่หากเป็นนานเกิน 2 สัปดาห์เรียกว่า อุจจาระร่วงเรื้อรัง โดยโรคนี้พบได้บ่อยในชีวิตประจำวันของประชาชนตำบลยะหา
จากการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงในพื้นที่ของโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหา และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลากอ ได้มีการดำเนินงานตามแนวทางและนโยบายมาตลอด แต่ก็ยังไม่ประสพผลสำเร็จ ยังมีผู้ป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเพิ่มขึ้นทุกปี ทางโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหา กลุ่มงานเวชปฏิบัติครองครัวและชุมชน จึงมีความสนใจที่จะทำโครงการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของตัวแทนภาคประชาชนในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา (โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลากอ ตำบลยะหา) ซึ่งเป็นเครือข่ายที่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด ทั้งนี้เพื่อให้เครือข่ายเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว ระดับหมู่บ้าน มีความรู้ เรื่องโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังและเข้าใจบทบาทของตัวเอง ซึ่งจะทำให้การป้องกันควบคุมโรคได้ผลดียิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ทีมเครือข่ายเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับหมู่บ้านในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา (โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลากอ ตำบลยะหา) มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
2. เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองที่มีดูแลเด็กก่อนวัยเรียน ได้รับความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
3. เพื่อลดอัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงจากปีที่ผ่านมา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ สามารถถ่ายทอดความรู้การป้องกันโรคอุจจาระร่วงสู่ชุมชนได้ และทำให้อัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุ 0-5 ปี มีจำนวนลดลงจากปีที่ผ่านมา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในกลุ่มเป้าหมายให้ครอบคลุม ดังนี้ วันที่ 24-25 สิงหาคม 2560
- ทีมเครือข่ายเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับหมู่บ้าน
- ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและครูระดับประถมวัย
กิจกรรมที่ 2 จัดเวทีสรุปและคืนข้อมูลชุมชน เพื่อรับทราบสถานการณ์โรค และปัญหาอุปสรรคและติดตามผลการดำเนินงาน
กิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์
การประเมินระดับความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 30
อัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุ 0-5 ปี มีจำนวนลดลงจากปีที่ผ่านมา ของตำบลยะหา อัตราป่วยปี 2559 อัตราป่วยต่อประชากรหมื่นคนเท่ากับ 200 อัตราป่วยปี 2560 อัตราป่วยต่อประชากรหมื่นคนเท่ากับ 175
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ทีมเครือข่ายเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับหมู่บ้านในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา (โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลากอ ตำบลยะหา) มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
2. เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองที่มีดูแลเด็กก่อนวัยเรียน ได้รับความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
3. เพื่อลดอัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงจากปีที่ผ่านมา
ตัวชี้วัด : 1. มีการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเป็นพิษได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด
2. อัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน หรือโรคอาหารเป็นพิษในระดับอำเภอน้อยกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
160
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ทีมเครือข่ายเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับหมู่บ้านในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา (โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลากอ ตำบลยะหา) มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
2. เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองที่มีดูแลเด็กก่อนวัยเรียน ได้รับความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
3. เพื่อลดอัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงจากปีที่ผ่านมา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของตัวแทนภาคประชาชนในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( น.ส.รูซีลาโตะกีเล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของตัวแทนภาคประชาชนในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
น.ส.รูซีลาโตะกีเล
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2560 ถึง 26 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของตัวแทนภาคประชาชนในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของตัวแทนภาคประชาชนในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของตัวแทนภาคประชาชนในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2560 - 26 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,875.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์โรคติดต่ออำเภอยะหา เมื่อจำแนกประเภทของโรค ได้แก่ โรคทางเดินอาหารและน้ำ โรคติดต่อนำโดยแมลง โรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เป็นต้น โรคทางเดินอาหารและน้ำมีรายงานผู้ป่วยเข้ารับการรักษามากที่สุดเป็นอันดับที่ 1 ของโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง เมื่อศึกษาข้อมูลย้อนหลัง 5 ปีของอำเภอยะหา (พ.ศ.2555-2559) พบอัตราป่วย 238.96,234.14,179.5,175.43และ 473.49 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ และเมื่อพิจารณารายตำบลพบว่า ในปี 2559 ตำบลยะหามีสถิติการเกิดโรคอุจจาระร่วง คิดเป็นอัตราป่วย 1,102.54 ต่อประชากรแสนคนและมีอัตราป่วยมากที่สุดเมื่อเทียบกับตำบลอื่นๆในอำเภอยะหา และยังเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวังอันดับที่หนึ่งของโรคทางระบาดวิทยา ซึ่งเมื่อเกิดโรคอุจจาระร่วงแล้วทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษา ส่งผลกระทบต่อครอบครัว ถ้าผู้ป่วยเป็นผู้ที่หารายได้ให้ครอบครัว เป็นต้น ช่วงอายุที่พบมากที่สุด ได้แก่ อายุ 0-5 ปี สำหรับด้านความรุนแรงของโรค โรคอุจจาระร่วง หมายถึง การถ่ายอุจจาระเหลวเกิน 3 ครั้งขึ้นไปหรือถ่ายเหลวผิดปกติหรือถ่ายบ่อยกว่าปกติ มักจะพูดติปากว่า ท้องร่วง ท้องเสีย ในบางครั้งผู้ป่วยอาจมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ปวดบิดในท้อง ท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน โดยโรคนี้แบ่งได้เป็น 2 ชนิดคือแบบเฉียบพลัน (Acute) และแบบเรื้อรัง (Chronic) ผู้ป่วยที่เป็นอุจจาระร่วงมักหายภายใน 2 สัปดาห์ ส่วนใหญ่หายได้เอง แต่หากเป็นนานเกิน 2 สัปดาห์เรียกว่า อุจจาระร่วงเรื้อรัง โดยโรคนี้พบได้บ่อยในชีวิตประจำวันของประชาชนตำบลยะหา จากการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงในพื้นที่ของโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหา และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลากอ ได้มีการดำเนินงานตามแนวทางและนโยบายมาตลอด แต่ก็ยังไม่ประสพผลสำเร็จ ยังมีผู้ป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเพิ่มขึ้นทุกปี ทางโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหา กลุ่มงานเวชปฏิบัติครองครัวและชุมชน จึงมีความสนใจที่จะทำโครงการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของตัวแทนภาคประชาชนในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา (โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลากอ ตำบลยะหา) ซึ่งเป็นเครือข่ายที่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด ทั้งนี้เพื่อให้เครือข่ายเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว ระดับหมู่บ้าน มีความรู้ เรื่องโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังและเข้าใจบทบาทของตัวเอง ซึ่งจะทำให้การป้องกันควบคุมโรคได้ผลดียิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ทีมเครือข่ายเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับหมู่บ้านในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา (โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลากอ ตำบลยะหา) มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง 2. เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองที่มีดูแลเด็กก่อนวัยเรียน ได้รับความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง 3. เพื่อลดอัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงจากปีที่ผ่านมา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 120 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ สามารถถ่ายทอดความรู้การป้องกันโรคอุจจาระร่วงสู่ชุมชนได้ และทำให้อัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุ 0-5 ปี มีจำนวนลดลงจากปีที่ผ่านมา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในกลุ่มเป้าหมายให้ครอบคลุม ดังนี้ วันที่ 24-25 สิงหาคม 2560
- ทีมเครือข่ายเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับหมู่บ้าน
- ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและครูระดับประถมวัย
กิจกรรมที่ 2 จัดเวทีสรุปและคืนข้อมูลชุมชน เพื่อรับทราบสถานการณ์โรค และปัญหาอุปสรรคและติดตามผลการดำเนินงาน
กิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์
การประเมินระดับความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 30
อัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุ 0-5 ปี มีจำนวนลดลงจากปีที่ผ่านมา ของตำบลยะหา อัตราป่วยปี 2559 อัตราป่วยต่อประชากรหมื่นคนเท่ากับ 200 อัตราป่วยปี 2560 อัตราป่วยต่อประชากรหมื่นคนเท่ากับ 175
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ทีมเครือข่ายเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับหมู่บ้านในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา (โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลากอ ตำบลยะหา) มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
2. เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองที่มีดูแลเด็กก่อนวัยเรียน ได้รับความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
3. เพื่อลดอัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงจากปีที่ผ่านมา ตัวชี้วัด : 1. มีการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเป็นพิษได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. อัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน หรือโรคอาหารเป็นพิษในระดับอำเภอน้อยกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 160 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 120 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ทีมเครือข่ายเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับหมู่บ้านในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา (โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหาและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลากอ ตำบลยะหา) มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง 2. เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองที่มีดูแลเด็กก่อนวัยเรียน ได้รับความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง 3. เพื่อลดอัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงจากปีที่ผ่านมา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของตัวแทนภาคประชาชนในการดำเนินการป้องกันโรคอุจจาระร่วงเขตตำบลยะหา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( น.ส.รูซีลาโตะกีเล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......