ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยง สารเคมีห่างไกลสารพิษ ชุมชนต้นโด
ชื่อโครงการ | ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยง สารเคมีห่างไกลสารพิษ ชุมชนต้นโด |
รหัสโครงการ | 62-L7258-2-36 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชุมชนต้นโด |
วันที่อนุมัติ | 29 เมษายน 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 41,050.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายเสรี แป้นทอง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.01,100.474place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เนื่องด้วยในปัจจุบันเรื่องสุขภาพของประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้นซึ่งเห็นได้จากสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และอัตราการป่วยจากโรคที่ไม่ติดต่อเพิ่มสูงขึ้นซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการรักษาพยาบาลเป็นอันมาก และเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุเนื่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญมีสาเหตุมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมีหรือผัก-ผลไม้ที่ไม่ปลอดสารพิษเพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธีเพื่อเหตุผลทางการค้า ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยงแนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ต้นเหตุแบบยั่งยืนคือการให้สุขศึกษาความรู้แก่ประชาชนและการส่งเสริมการปลูกพืชผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน การปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยใช้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดีมีประโยชน์อย่างแท้จริง แต่กระนั้น สำหรับประชาชนที่ไม่เคยปลูกผักเลยก็เป็นปัญหาใหญ่ ในการที่จะเริ่มต้นที่จะเรียนรู้การปลูกผักด้วยตนเอง ชุมชนสถานีอู่ตะเภาตระหนักในปัญหานี้ จึงได้ร่วมกันจัดตั้ง โครงการ “ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัย หลีกเลี่ยง สารเคมี ห่างไกลสารพิษ ชุมชนต้นโด”ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ชุมชนมีความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ และมีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค ๒. เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดอย่างถูกวิธี ๓. เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ ความรักความสามัคคีในชุมชน ตัวชี้วัดความสำเร็จ ๑. ชุมชนมีความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ ๒. ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเอง ชุมชนมีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะเปียก และสามารถลดปริมาณขยะเปียก มีปฏิสัมพันธ์ ความรัก ความสามัคคีในชุมชน |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 40 | 41,050.00 | 5 | 41,050.00 | 0.00 | |
1 พ.ค. 62 - 30 ส.ค. 62 | กิจกรรมการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติจริง เรื่องผักปลอดสารพิษและส่งเสริมการทำปุ๋ยหมักชีวภาพและน้ำหมักชีวภาพ ลดการใช้สารเคมีในชุมชน | 40 | 12,000.00 | ✔ | 12,000.00 | 0.00 | |
1 พ.ค. 62 - 30 ส.ค. 62 | กิจกรรมผักปลอดสารในชุมชน | 0 | 7,200.00 | ✔ | 7,200.00 | 0.00 | |
1 พ.ค. 62 - 30 ส.ค. 62 | กิจกรรมเชิงปฏิบัติการประจำเดือน | 0 | 20,800.00 | ✔ | 20,800.00 | 0.00 | |
1 พ.ค. 62 | กิจกรรมการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ | 0 | 350.00 | ✔ | 350.00 | 0.00 | |
30 ส.ค. 62 | กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน | 0 | 700.00 | ✔ | 700.00 | 0.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 40 | 41,050.00 | 5 | 41,050.00 | 0.00 |
- เขียนโครงการเพื่อเสนอโครงการ
- เสนอโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ
- แต่งตั้งคณะทำงานในการดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการ
- รับสมัครสมาชิกเข้าร่วมโครงการ
- ดำเนินกิจกรรมอบรมให้ความรู้ บรรยายและเชิงปฏิบัติการ
- ติดตามการปลูกพืชผักในชุมชน
- สรุปผลและประเมินโครงการ
- จัดทำเล่มโครงการส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครหาดใหญ่
- เกิดการปลูกพืชผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน ชุมชน 2. ลดปริมาณขยะเปียกในครัวเรือน ชุมชน 3. เกิดปฏิสัมพันธ์ ความรักความสามัคคีในชุมชน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2562 15:15 น.