กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2562 ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายภิจิตร์ เตะหมัดหมะ

ชื่อโครงการ โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8287-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2562 ถึง 15 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L8287-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2562 - 15 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

รัฐบาลได้กำหนดนโยบายอาหารปลอดภัย เพื่อให้อาหารที่ผลิตและบริโภคภายในประเทศมีความปลอดภัยในระดับสากลและเป็นครัวอาหารโลก โดยได้กำหนดกลยุทธ์ต่างๆ เพื่อให้ครอบคลุมตั้งแต่แหล่งผลิตจนถึงผู้บริโภคใน  3 กลุ่ม คือ อาหารสด อาหารแปรรูปและอาหารปรุง  ทั้งกลไกการดำเนินงานที่สำคัญคือบทบาทของภาครัฐ บทบาทด้านผู้ประกอบการและบทบาทด้านผู้บริโภค ร่วมดำเนินการเพื่อบรรลุนโยบายดังกล่าว
อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่มนุษย์จำเป็นต้องใช้ในการดำรงชีวิต เพื่อช่วยเสริมสร้างร่างกายให้เจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่ชำรุดสึกหรอ และทำให้อวัยวะต่างๆทำหน้าที่ได้อย่างปกติ ดังนั้นมนุษย์จึงต้องบริโภคอาหารทุกวัน และอาหารที่บริโภคนั้นควรมีความครบถ้วนทั้งด้านปริมาณ คุณค่าสารอาหาร และ คุณภาพด้านความสะอาด ปลอดภัย สมกับเป็นรากฐานสำคัญของสุขภาพ แต่ในสถานการณ์ปัจจุบันพบว่าอาหารที่บริโภคกลับเป็นช่องทางนำสิ่งที่เป็นอันตรายเข้าสู่ร่างกาย และเป็นสาเหตุของความเจ็บป่วยด้วย  โรคต่างๆ โดยมีสาเหตุมาจากการปนเปื้อนเชื้อโรค พยาธิ สารเคมี และโลหะหนัก ประกอบกับแบบแผนการบริโภคที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย จากเดิมมีการปรุงประกอบอาหารรับประทานในครัวเรือน สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมในการผลิต การเตรียม และการปรุงอาหารได้ เปลี่ยนเป็นการซื้ออาหารปรุงสำเร็จหรือรับประทานอาหารจากแหล่งผลิตภายนอก เช่น ร้านอาหาร หรือแผงลอยจำหน่ายอาหาร ดังนั้นผู้บริโภคควรมีหลักการพิจารณาร้านอาหารที่สะอาดได้มาตรฐาน เพื่อช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ซึ่งเป็นปัญหาต่อสุขภาพของผู้บริโภค และผู้ประกอบการต้องมีความสามารถในการควบคุมสภาพแวดล้อมในการผลิตให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
องค์การบริหารส่วนตำบล จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเข้ามามีบทบาทในการส่งเสริมให้ประชาชนมีการบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัย โดยเน้นส่งเสริมตั้งแต่แหล่งผลิตจนถึงผู้บริโภค เพื่อป้องกันการเกิดโรคต่างๆที่มากับอาหารและการปนเปื้อนของอาหารอันจะส่งผลเสียต่อสุขภาพประชาชน ตามอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 มาตรา 67 (3) องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
  ทางกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลเทพา ได้ให้ความสำคัญกับสุขภาพประชาชนเป็นหลัก จึงได้จัดทำ “โครงการอาหารปลอดภัย” ขึ้น เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยมีความรู้เกี่ยวกับร้านอาหารและแผงลอยที่ได้มาตรฐาน รวมทั้งเพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste ตลอดจนเพื่อลดความเสี่ยงอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารและน้ำที่ไม่สะอาด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยมีความรู้เกี่ยวกับร้านอาหารและแผงลอยที่ได้มาตรฐาน
  2. เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste
  3. เพื่อลดความเสี่ยงอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารและน้ำที่ไม่สะอาด ซึ่งมีสาเหตุจากร้าน จำหน่ายอาหาร โรงอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
  4. เพื่อประชาสัมพันธ์การงดใช้โฟมบรรจุอาหารในตำบลเทพา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมตรวจร้านอาหาร/แผงลอย มอบป้ายร้านอาหารสะอาดและร้านอาหารปลอดโฟม
  2. กิจกรรมอบรมอบรมผู้ประกอบการ อสม. แม่ครัวโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 8
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.  ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยมีความรู้เกี่ยวกับร้านอาหารและแผงลอยที่ได้มาตรฐาน 2.  ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste
3.  ลดความเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ
4.  ประชาชนในตำบลเทพางดใช้โฟมบรรจุอาหารเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยมีความรู้เกี่ยวกับร้านอาหารและแผงลอยที่ได้มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยมีความรู้เกี่ยวกับร้านอาหารและแผงลอยที่ได้มาตรฐาน มากกว่าร้อยละ 80
80.00 96.77

 

2 เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน CFGT ร้อยละ 80
80.00 91.93

 

3 เพื่อลดความเสี่ยงอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารและน้ำที่ไม่สะอาด ซึ่งมีสาเหตุจากร้าน จำหน่ายอาหาร โรงอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
ตัวชี้วัด : ลดความเสี่ยงอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารและน้ำที่ไม่สะอาด
60.00 70.00

 

4 เพื่อประชาสัมพันธ์การงดใช้โฟมบรรจุอาหารในตำบลเทพา
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านค้า ร้านอาหารงดใช้โฟมเพิ่มขึ้น
50.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 68
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 8
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยมีความรู้เกี่ยวกับร้านอาหารและแผงลอยที่ได้มาตรฐาน (2) เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน  Clean  Food  Good  Taste (3) เพื่อลดความเสี่ยงอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารและน้ำที่ไม่สะอาด  ซึ่งมีสาเหตุจากร้าน  จำหน่ายอาหาร  โรงอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร (4) เพื่อประชาสัมพันธ์การงดใช้โฟมบรรจุอาหารในตำบลเทพา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจร้านอาหาร/แผงลอย มอบป้ายร้านอาหารสะอาดและร้านอาหารปลอดโฟม (2) กิจกรรมอบรมอบรมผู้ประกอบการ อสม. แม่ครัวโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8287-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายภิจิตร์ เตะหมัดหมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด