กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก


“ โครงการส่งเสริมตาดีกา มัสยิด ปลอดภัย ห่างไกล ไร้ไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา ปี 2562 ”

ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมตาดีกา มัสยิด ปลอดภัย ห่างไกล ไร้ไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7889-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมตาดีกา มัสยิด ปลอดภัย ห่างไกล ไร้ไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา ปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมตาดีกา มัสยิด ปลอดภัย ห่างไกล ไร้ไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมตาดีกา มัสยิด ปลอดภัย ห่างไกล ไร้ไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7889-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 122,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้กำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น ๆ และสนับสนุนส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นั้น เทศบาลตำบลปริก ซึ่งอยู่ในเขตรับผิดชอบของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๒ สงขลา เป็นพื้นที่ที่มีความเป็นบริบทที่มีความเป็นอัตลักษณ์ในด้านสังคมและวัฒนธรรมศาสนาอิสลาม ซึ่งประชาชนร้อยละ ๙๐ นับถือศาสนาอิสลาม ดังนั้น กิจวัตรประจำวันของประชาชนจึงมีความผูกพัน กับศาสนสถาน คือ มัสยิด โดยในเทศบาลตำบลปริกมีมัสยิด จำนวน ๗ มัสยิด ตั้งอยู่ใน ๕ ชุมชนซึ่งในการดำเนินชีวิตประจำวันประชาชนต้องปฏิบัติศาสนกิจละหมาดวันละ ๕ เวลา และในทุกวันศุกร์ ถือเป็นวันสำคัญที่ประชาชนมาปฏิบัติศาสนกิจจำนวนมาก รวมถึงในวันสำคัญทางศาสนาอิสลาม คือ ช่วงเดือนถือศีลอด(รอมฎอน) และวันตรุษ (อีดิลฟิตรี , อีดิ้ลอัฎฮา) ประชาชนทุกครัวเรือนได้มารวมตัวกัน เพื่อปฏิบัติศาสนกิจ ณ มัสยิดประจำชุมชน พร้อมกันนี้ “มัสยิด” ยังเป็นสถานที่ตั้งของโรงเรียนตาดีกา ซึ่งมีจำนวน
๕ แห่ง ซึ่งโรงเรียนตาดีกาถือเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศาสนาอิสลามและจริยธรรมให้แก่เด็กและเยาวชนในช่วงวันเสาร์-วันอาทิตย์ ซึ่งถือเป็นวิถีชีวิตของประชาชนที่นับถืออิสลามในพื้นที่เทศบาลตำบลปริก จากสถานการณ์การระบาดของติดต่อ โรคไข้เลือดออก ชิคุนกุนยา และอื่นๆในเขตเทศบาลตำบลปริก ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ พบผู้ป่วยจำนวน ๑๕ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๒๓๑.๗๓ ต่อแสนประชากร และพบผู้ป่วยโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) จำนวน ๔ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๖๑.๗๙ ต่อแสนประชากร ซึ่งเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่ต้องแก้ไขแบบมีส่วนร่วมหลายๆภาคส่วน และอีกทั้งเกินค่ามาตรฐานตัวชี้วัดค่ามัธยฐานย้อนหลังห้าปีของกระทรวงสาธารณสุข ชมรมส่งเสริมสุขภาวะมุสลิมปริกสัมพันธ์ มีความตระหนักในเรื่องปัญหาการระบาดของโรคที่อาจมีแหล่งแพร่โรคจากพื้นที่มัสยิดและโรงเรียนตาดีกาได้เพราะเป็นสถานที่สาธารณะที่ทุกกลุ่มอายุมาร่วมกิจกรรมกันอย่างต่อเนื่อง จึงเห็นความสำคัญของการส่งเสริมให้ความรู้ในการป้องกันควบคุมโรค การมีส่วนร่วมให้ทุกคน ทุกฝ่ายกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การจัดการขยะ ซึ่งมีความแตกต่างกันตามแต่ละบริบทของพื้นที่มัสยิด โรงเรียนตาดีกา ในเขตเทศบาล โดยกลุ่มแกนนำมัสยิดเด็กนักเรียน สามารถดำเนินการรักษาความสะอาดให้ถูกต้องตามหลักสุขลักษณะ ความสะอาด ความสะดวกและปลอดภัย ไม่เป็นแหล่งแพร่โรคติดต่อแก่ประชาชน ผู้มาปฏิบัติศาสนกิจและนักเรียนโรงเรียนตาดีกา ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ปลอดภัยจากโรคติดต่อ โดยในหลักการศาสนาอิสลามถือว่า “ความสะอาดเป็นส่วนหนึ่งของการศรัทธา” กลุ่มแกนนำมัสยิดมีบทบาทสำคัญในการบริหารจัดการมัสยิด อยากให้เกิดการดูแลสุขภาพโดยชุมชนเพื่อชุมชนได้มีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาด การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย สิ่งแวดล้อมถูกหลักสุขาภิบาล และพัฒนาให้ศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุขในอนาคตต่อไป ดังนั้น กลุ่มแกนนำมัสยิดแต่ละมัสยิด ครูและนักเรียนตาดีกาจำเป็นต้องมีความรู้ด้านสุขภาวะ รวมถึงสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน การควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยยุงลายในชุมชนต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจึงจะเกิดสุขภาวะที่ดี ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องใช้ทั้งความรู้ ความตระหนักการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ระยะเวลา และงบประมาณ เพื่อนำสู่เป้าหมาย “ตาดีกา มัสยิด ปลอดภัย ไร้โรคไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา” ชมรมส่งเสริมสุขภาวะมุสลิมปริกสัมพันธ์ จึงได้จัดทำ “โครงการ ตาดีกา มัสยิด ปลอดภัย ห่างไกล ไร้ไข้เลือดออก และชิคุนกุนยา ปี ๒๕๖๒” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑๐.๑ ปัญหาของโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย(ชิคุนกุนยา) ในเขตเทศบาลตำบลปริกลดลง
    ๑๐.๒ กลุ่มแกนนำการมัสยิด นักเรียนโรงเรียนตาฎีกาในเขตเทศบาลตำบลปริกได้เป็นต้นแบบของแกนนำควบคุมโรค และนำมาประยุกต์ปฏิบัติใช้ในชุมชนของตนเองได้ ๑๐.๓ มัสยิดผ่านมาตรฐานตัวชี้วัดขั้นพื้นฐานศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพและเป็นมัสยิดปลอดลูกน้ำยุงลาย เป็นศาสนสถานควบคุมป้องกันโรคต้นแบบสู่พื้นที่อื่นๆ ๑๐.๔ เกิดสุขภาวะที่ดีแก่ประชาชนในพื้นที่


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมตาดีกา มัสยิด ปลอดภัย ห่างไกล ไร้ไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา ปี 2562 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L7889-2-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด