กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมและอบรมการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่อาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 74 คน และกำหนดการลงพื้นที่ตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อายุ 35 ปี ขึ้นไป มีผู้เข้ารับการคัดกรอง จำนวน 1,227 คน คิดเป็นร้อยละ 97.30 พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 102 คน โดยนัดกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการตรวจซ้ำเพื่อยืนยันความเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง หลังจากดำเนินการคัดกรองได้ ลงพื้นที่เพื่อคืนข้อมูลสู่ชุมชน นัดกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ คลินิก DPAC ด้วยหลัก 3อ 2ส ในสถานบริการอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 6 เดือน รณรงค์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานในครัวเรือน การออกกำลังกายวันละอย่างน้อยวันละ 30 นาที ดำเนินการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จากการดำเนินการตรวจคัดกรองฯ พบว่า มีกลุ่มเสี่ยง จำนวน 102 คน มีกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 93.14 มีผู้ป่วยเบาหวาน ประจำปี 2560 จำนวน 14 คน ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 25 คน และดำเนินกิจกรรมหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ได้รับการคัดเลือก ได้แก่ รณรงค์ปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน จัดกิจกรรมออกกำลังกายในชุมชนอย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วันๆละ อย่างน้อย 30 นาที อย่างต่อเนื่อง เกิดแหล่งเรียนรู้ชุมชนประจำหมู่บ้าน เป็นต้น พร้อมทั้งประเมินผลและสรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1.1 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองด้วยแบบสอบถามเบื้องต้น(verbal screening) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 1.2 ประชาชนที่มีผ่านการคัดกรองด้วย (Verbal screening) ได้รับการตรวจยืนยันด้วย(DTX Strip test)ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
97.30

ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,227 คน

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนที่มีความเสี่ยงจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 2.1 ประชาชนที่มีความเสี่ยงจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้และพฤติกรรมเพื่อการลดภาวะเสี่ยง ร้อยละ 60 ของจำนวนประชาชนที่มีภาวะเสี่ยง 2.2 ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจนสามารถควบคุมภาวะเสี่ยงจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
93.14

ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคด้วยหลัก 3อ 2ส จำนวน 95 คน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1849
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,849
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนที่มีความเสี่ยงจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh