กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กแรกเกิด - 72 เดือนและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กของผู้ปกครอง ตำบลโฆษิต ปี 2560 ”

ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กแรกเกิด - 72 เดือนและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กของผู้ปกครอง ตำบลโฆษิต ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2482-1-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กแรกเกิด - 72 เดือนและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กของผู้ปกครอง ตำบลโฆษิต ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กแรกเกิด - 72 เดือนและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กของผู้ปกครอง ตำบลโฆษิต ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กแรกเกิด - 72 เดือนและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กของผู้ปกครอง ตำบลโฆษิต ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2482-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,100.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กเป็นเป้าหมายสำคัญในการพัฒนาประเทศโดยเฉพาะเด็กก่อนวัยเรียน เพราะเด็กในวัยนี้เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งร่างกายและสติปัญญา ดังนั้นสารอาหารและวิธีการเลี้ยงดูจึงมีความสำคัญที่สุดและเป็นรากฐานสำคัญสำหรับการสร้างสมรรถภาพและประสิทธิภาพในการดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพต่อ "โภชนาการ" จึงเป็นเรื่องของการกินอาหาร ที่ร่างกายเรานำสารอาหาร จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุขอาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัยทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุโดยเฉพาะในเด็กก่อนวัยเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิตเป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง จากการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพเด็กแรกเกิด - 72 เดือน ด้านโภชนาการ ด้านพัฒนาการ ภาวะสุขภาพช่องปาก และการรับการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในเเด็ก ตั้งแต่แรกเกิด -72 เดือนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา ตำบลโฆษิต พบว่าเด็กยังมีปัญหาด้านสุขภาพดังกล่าว ปัญหาส่วนหนึ่งเกิดจากผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับอาหารตามวัยแต่ขาดความตระหนักในการเลี้ยงดูเด็ก และผู้ปกครองมีเศรษฐกิจทางครอบครัวที่ไม่ดีจึงไม่สามรถเลี้ยงดูเด็กให้มีคุณภาพได้ และพ่อแม่ไม่ได้เลี้ยงดูลูกโดยตรง ส่งผลให้เด็กวัยก่อนวัยเรียนมีพัฒนาการทางด้านร่างกายไม่สมวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวน เด็กแรกเกิด - 72 เดือน มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์
  2. เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากภาวะขาดสารอาหารในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กที่ถูกต้อง
  4. เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาสมวัยตามวัย
  5. เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ครบถ้วนและตามเกณฑ์
  6. เพื่อส่งเสริมให้เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเลี้ยงเด็กของผู้ปกครอง
  2. สาธิตการประกอบอาหารตามวัยโดยเน้นวัตถุดิบที่มีในชุมชน
  3. ประกวดหนูน้อยสุขภาพดี
  4. อบรมให้ความรู้อสม.เรื่องภาวะโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กแรกเกิด - 72 เดือน มีภาวะน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ลดลง
  2. เด็กแรกเกิด - 72 เดือนไม่เจ็บป่วยด้วยสาเหตุการขาดสารอาหาร
  3. เด็กแรกเกิด - 72 เดือนมีพัฒนาการสมวัย
  4. ผู้ปกครองมีความรู้และปฏิบัติตนได้ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
  5. ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามนัดหมาย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้อสม.เรื่องภาวะโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก

วันที่ 15 มิถุนายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจง อสม. และแกนนำหมู่บ้านเพื่อวางแผนการทำงานร่วมกัน
  2. จัดทำโครงการเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
  3. ติดตามประเมินภาวะสุขภาพของเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  4. วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของภาวะสุขภาพของเด็กแรกเกิด -72 เดือน
  5. ประเมินพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  6. บริการด้านสุขภาพช่องภาพเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  7. บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  8. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยตนเรียนรู้การเลี้ยงดูเด็กของผู้ปกครองและสาธิตการประกอบอาหารตามวัยโดยเน้านวัตถุดิบที่มีในชุมชน
  9. กิจกรรมการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี
  10. ประเมินผลการดำเนินงาน และรวบรวมผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กแรกเกิด - 72 เดือน มีภาวะน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ลดลง
  2. เด็กแรกเกิด - 72 เดือนไม่เจ็บป่วยด้วยสาเหตุการขาดสารอาหาร
  3. เด็กแรกเกิด - 72 เดือนมีพัฒนาการสมวัย
  4. ผู้ปกครองมีความรู้และปฏิบัติตนได้ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
  5. ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามนัดหมาย

 

0 0

2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเลี้ยงเด็กของผู้ปกครอง

วันที่ 10 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจง อสม. และแกนนำหมู่บ้านเพื่อวางแผนการทำงานร่วมกัน
  2. จัดทำโครงการเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
  3. ติดตามประเมินภาวะสุขภาพของเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  4. วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของภาวะสุขภาพของเด็กแรกเกิด -72 เดือน
  5. ประเมินพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  6. บริการด้านสุขภาพช่องภาพเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  7. บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  8. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยตนเรียนรู้การเลี้ยงดูเด็กของผู้ปกครองและสาธิตการประกอบอาหารตามวัยโดยเน้านวัตถุดิบที่มีในชุมชน
  9. กิจกรรมการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี
  10. ประเมินผลการดำเนินงาน และรวบรวมผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กแรกเกิด - 72 เดือน มีภาวะน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ลดลง
  2. เด็กแรกเกิด - 72 เดือนไม่เจ็บป่วยด้วยสาเหตุการขาดสารอาหาร
  3. เด็กแรกเกิด - 72 เดือนมีพัฒนาการสมวัย
  4. ผู้ปกครองมีความรู้และปฏิบัติตนได้ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
  5. ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามนัดหมาย

 

80 0

3. สาธิตการประกอบอาหารตามวัยโดยเน้นวัตถุดิบที่มีในชุมชน

วันที่ 10 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจง อสม. และแกนนำหมู่บ้านเพื่อวางแผนการทำงานร่วมกัน
  2. จัดทำโครงการเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
  3. ติดตามประเมินภาวะสุขภาพของเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  4. วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของภาวะสุขภาพของเด็กแรกเกิด -72 เดือน
  5. ประเมินพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  6. บริการด้านสุขภาพช่องภาพเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  7. บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  8. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยตนเรียนรู้การเลี้ยงดูเด็กของผู้ปกครองและสาธิตการประกอบอาหารตามวัยโดยเน้านวัตถุดิบที่มีในชุมชน
  9. กิจกรรมการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี
  10. ประเมินผลการดำเนินงาน และรวบรวมผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กแรกเกิด - 72 เดือน มีภาวะน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ลดลง
  2. เด็กแรกเกิด - 72 เดือนไม่เจ็บป่วยด้วยสาเหตุการขาดสารอาหาร
  3. เด็กแรกเกิด - 72 เดือนมีพัฒนาการสมวัย
  4. ผู้ปกครองมีความรู้และปฏิบัติตนได้ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
  5. ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามนัดหมาย

 

0 0

4. ประกวดหนูน้อยสุขภาพดี

วันที่ 10 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจง อสม. และแกนนำหมู่บ้านเพื่อวางแผนการทำงานร่วมกัน
  2. จัดทำโครงการเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
  3. ติดตามประเมินภาวะสุขภาพของเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  4. วิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของภาวะสุขภาพของเด็กแรกเกิด -72 เดือน
  5. ประเมินพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  6. บริการด้านสุขภาพช่องภาพเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  7. บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เด็กแรกเกิด - 72 เดือน
  8. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยตนเรียนรู้การเลี้ยงดูเด็กของผู้ปกครองและสาธิตการประกอบอาหารตามวัยโดยเน้านวัตถุดิบที่มีในชุมชน
  9. กิจกรรมการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี
  10. ประเมินผลการดำเนินงาน และรวบรวมผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็กแรกเกิด - 72 เดือน มีภาวะน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ลดลง
  2. เด็กแรกเกิด - 72 เดือนไม่เจ็บป่วยด้วยสาเหตุการขาดสารอาหาร
  3. เด็กแรกเกิด - 72 เดือนมีพัฒนาการสมวัย
  4. ผู้ปกครองมีความรู้และปฏิบัติตนได้ถูกต้องในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
  5. ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามนัดหมาย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผู้ปกครองเด็กเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเลี้ยงดูเด็กและการสาธิตอาหารจำนวน 64 คน จากการติดตามภาวะโภชนการของเด็กหลังจากผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ัการเลี้ยงดูเด็กและการสาธิตอาหารพบว่าเด็กมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้นเป็นส่วนใหญ่
  2. จากกิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดี ทำให้มีผู้ปกครองสนใจให้ความสำคัญในการเลี้่ยงดูบุตร มีการพูดคุยสอบถามเกี่ยวกับการเลี้ยงดูบุตรจากผู้ที่ชนะการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี
  3. ทำให้มีบุคคลตัวอย่างในหมู่บ้านและชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวน เด็กแรกเกิด - 72 เดือน มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กแรกเกิด - 72 เดือน มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์น้อยกว่าร้อยละ 10

 

2 เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากภาวะขาดสารอาหารในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กแรกเกิด - 72 เดือนมีภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากการขาดสารอาหารน้อยกว่าร้อยละ 10

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้เลี้ยงดูเด็กที่มีปัญหาน้ำหนักกว่าเกณฑ์สามารถประกอบอาหารได้เหมาะสมตามวัยของเด็กร้อยละ 30

 

4 เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาสมวัยตามวัย
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการประเมินพัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาร้อยละ 90

 

5 เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ครบถ้วนและตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ครบถ้วนตามเกณฑ์ร้อยละ 90

 

6 เพื่อส่งเสริมให้เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากตามเกณฑ์ร้อยละ 80

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวน เด็กแรกเกิด - 72 เดือน มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (2) เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากภาวะขาดสารอาหารในเด็กแรกเกิด - 72 เดือน (3) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กที่ถูกต้อง (4) เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาสมวัยตามวัย (5) เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ครบถ้วนและตามเกณฑ์ (6) เพื่อส่งเสริมให้เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ได้รับการการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเลี้ยงเด็กของผู้ปกครอง (2) สาธิตการประกอบอาหารตามวัยโดยเน้นวัตถุดิบที่มีในชุมชน (3) ประกวดหนูน้อยสุขภาพดี (4) อบรมให้ความรู้อสม.เรื่องภาวะโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กแรกเกิด - 72 เดือนและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กของผู้ปกครอง ตำบลโฆษิต ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2482-1-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด