กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ป้ายไวนิลปิงปอง 7 สี16 กรกฎาคม 2561
16
กรกฎาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. เจ้าหน้าที่ประชุมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานร่วมกันในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  2. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอพิจารณาอนุมัติ
  3. สถานบริการสาธารณสุขดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน
  4. สำรวจกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ และจำแนกประเภทโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  5. จัดกิจกรรมสันทนาการ มรการพบปะสังสรรค์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลัก 6 อ. 3 เดือน/ครั้ง
  6. จัดกิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ หลัก 6 อ. แก่กลุ่มเป้าหมาย มีเนื้อหาดังนี้
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกับดอกไม้ 7 สี
    • อาหาร การดูแลเรื่องสุขภาพในช่องปาก
    • การฝึกทักษะออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆที่ถูกต้อง เช่น การยืดเหยียด รำไม้พลอง ฯลฯ
    • การจัดการกับอารมณ์ การจัดการกับความเครียด การเข้าหาธรรมะหรือศาสนา
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมในบ้านที่ดีเอื่อต่อการมีสุขภาพผู้สูงอายุ
    • อบายมุข การละลดเลิกบุหรี่ และแอลกอฮอล์
  7. ตรวจประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ ได้แก่ ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต ตรวจฟัน ประเมินภาวะสุขภาพกายและจิตโดยบุคลากรสาธารณสุข อสม.และกลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ
  8. ผู้สูงอายุต้นแบบระดับรพ.สต.รับการประเมิน ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว จำนวน 1 ชมรม
  9. เยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง
  10. สรุปและประเมินผลการดำเนินงานทุกเดือน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีชมรมนำร่องที่มีการดูแลผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับผู้สูงอายุและครอบครัว
  2. มีการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้สูงอายุ และครอบครัว
  3. ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมและเพิ่มคุณค่าของผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดูแลตนเองร่วมกับครอบครัวมากยิ่งขึ้น
  4. มีชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง มีการเชื่อมประสานกับเครือข่ายและหน่วยงานราชการที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพ จิต สังคมและจิตวิญญาณ
ป้ายประชาสัมพันธ์16 กรกฎาคม 2561
16
กรกฎาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. เจ้าหน้าที่ประชุมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานร่วมกันในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  2. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอพิจารณาอนุมัติ
  3. สถานบริการสาธารณสุขดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน
  4. สำรวจกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ และจำแนกประเภทโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  5. จัดกิจกรรมสันทนาการ มรการพบปะสังสรรค์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลัก 6 อ. 3 เดือน/ครั้ง
  6. จัดกิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ หลัก 6 อ. แก่กลุ่มเป้าหมาย มีเนื้อหาดังนี้
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกับดอกไม้ 7 สี
    • อาหาร การดูแลเรื่องสุขภาพในช่องปาก
    • การฝึกทักษะออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆที่ถูกต้อง เช่น การยืดเหยียด รำไม้พลอง ฯลฯ
    • การจัดการกับอารมณ์ การจัดการกับความเครียด การเข้าหาธรรมะหรือศาสนา
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมในบ้านที่ดีเอื่อต่อการมีสุขภาพผู้สูงอายุ
    • อบายมุข การละลดเลิกบุหรี่ และแอลกอฮอล์
  7. ตรวจประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ ได้แก่ ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต ตรวจฟัน ประเมินภาวะสุขภาพกายและจิตโดยบุคลากรสาธารณสุข อสม.และกลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ
  8. ผู้สูงอายุต้นแบบระดับรพ.สต.รับการประเมิน ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว จำนวน 1 ชมรม
  9. เยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง
  10. สรุปและประเมินผลการดำเนินงานทุกเดือน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีชมรมนำร่องที่มีการดูแลผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับผู้สูงอายุและครอบครัว
  2. มีการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้สูงอายุ และครอบครัว
  3. ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมและเพิ่มคุณค่าของผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดูแลตนเองร่วมกับครอบครัวมากยิ่งขึ้น
  4. มีชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง มีการเชื่อมประสานกับเครือข่ายและหน่วยงานราชการที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพ จิต สังคมและจิตวิญญาณ
อุปกรณ์สำหรับการออกกำลังกาย16 กรกฎาคม 2561
16
กรกฎาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. เจ้าหน้าที่ประชุมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานร่วมกันในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  2. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอพิจารณาอนุมัติ
  3. สถานบริการสาธารณสุขดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน
  4. สำรวจกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ และจำแนกประเภทโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  5. จัดกิจกรรมสันทนาการ มรการพบปะสังสรรค์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลัก 6 อ. 3 เดือน/ครั้ง
  6. จัดกิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ หลัก 6 อ. แก่กลุ่มเป้าหมาย มีเนื้อหาดังนี้
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกับดอกไม้ 7 สี
    • อาหาร การดูแลเรื่องสุขภาพในช่องปาก
    • การฝึกทักษะออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆที่ถูกต้อง เช่น การยืดเหยียด รำไม้พลอง ฯลฯ
    • การจัดการกับอารมณ์ การจัดการกับความเครียด การเข้าหาธรรมะหรือศาสนา
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมในบ้านที่ดีเอื่อต่อการมีสุขภาพผู้สูงอายุ
    • อบายมุข การละลดเลิกบุหรี่ และแอลกอฮอล์
  7. ตรวจประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ ได้แก่ ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต ตรวจฟัน ประเมินภาวะสุขภาพกายและจิตโดยบุคลากรสาธารณสุข อสม.และกลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ
  8. ผู้สูงอายุต้นแบบระดับรพ.สต.รับการประเมิน ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว จำนวน 1 ชมรม
  9. เยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง
  10. สรุปและประเมินผลการดำเนินงานทุกเดือน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีชมรมนำร่องที่มีการดูแลผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับผู้สูงอายุและครอบครัว
  2. มีการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้สูงอายุ และครอบครัว
  3. ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมและเพิ่มคุณค่าของผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดูแลตนเองร่วมกับครอบครัวมากยิ่งขึ้น
  4. มีชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง มีการเชื่อมประสานกับเครือข่ายและหน่วยงานราชการที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพ จิต สังคมและจิตวิญญาณ
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละเดือน16 กรกฎาคม 2561
16
กรกฎาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. เจ้าหน้าที่ประชุมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานร่วมกันในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  2. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขอพิจารณาอนุมัติ
  3. สถานบริการสาธารณสุขดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน
  4. สำรวจกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ และจำแนกประเภทโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  5. จัดกิจกรรมสันทนาการ มรการพบปะสังสรรค์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลัก 6 อ. 3 เดือน/ครั้ง
  6. จัดกิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ หลัก 6 อ. แก่กลุ่มเป้าหมาย มีเนื้อหาดังนี้
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกับดอกไม้ 7 สี
    • อาหาร การดูแลเรื่องสุขภาพในช่องปาก
    • การฝึกทักษะออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆที่ถูกต้อง เช่น การยืดเหยียด รำไม้พลอง ฯลฯ
    • การจัดการกับอารมณ์ การจัดการกับความเครียด การเข้าหาธรรมะหรือศาสนา
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมในบ้านที่ดีเอื่อต่อการมีสุขภาพผู้สูงอายุ
    • อบายมุข การละลดเลิกบุหรี่ และแอลกอฮอล์
  7. ตรวจประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ ได้แก่ ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต ตรวจฟัน ประเมินภาวะสุขภาพกายและจิตโดยบุคลากรสาธารณสุข อสม.และกลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ
  8. ผู้สูงอายุต้นแบบระดับรพ.สต.รับการประเมิน ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว จำนวน 1 ชมรม
  9. เยี่ยมเยียนผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง
  10. สรุปและประเมินผลการดำเนินงานทุกเดือน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีชมรมนำร่องที่มีการดูแลผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับผู้สูงอายุและครอบครัว
  2. มีการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้สูงอายุ และครอบครัว
  3. ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมและเพิ่มคุณค่าของผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดูแลตนเองร่วมกับครอบครัวมากยิ่งขึ้น
  4. มีชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง มีการเชื่อมประสานกับเครือข่ายและหน่วยงานราชการที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพ จิต สังคมและจิตวิญญาณ