กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อบรมเติมพลังแม่ป้องกันฟันผุให้ลูกน้อย ตำบลจะแนะ ปี ๒๕๖๒
รหัสโครงการ 62-L2474-2-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลจะแนะ
วันที่อนุมัติ 11 เมษายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 22 สิงหาคม 2562 - 22 สิงหาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 38,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนิซอเฟีย หะยีหามะ
พี่เลี้ยงโครงการ นายเสรี เซะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.077,101.693place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อให้ผู้ปกครอง/ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอายุ ๐-๕ ปี ๒. เพื่อให้ผู้ปกครอง/ครูผู้ดูแลเด็ก มีทักษะและพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอายุ ๐-๕ ปี ๓. เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ ๐-๕ ปี

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 38,000.00 0 0.00
24 มิ.ย. 62 อบรมให้ความรู้ 0 38,000.00 -

๑. จัดทำหนังสือขออนุมัติจัดกิจกรรม ๒. จัดทำหนังสือเชิญและแจ้งแผนการดำเนินงานและกำหนดการให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
๓. จัดกิจกรรมบรรยายเรื่องปัญหาและโรคสุขภาพช่องปากในเด็ก ๐-๕ ปี ฟันน้ำนมดีไฉน การดูแลป้องกันโรคในช่องปาก และการแปรงฟันให้ถูกวิธี ๔. ประเมินผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้ปกครอง/ครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างเหมาะสม ๒. ผู้ปกครอง/ครูผู้ดูแลเด็กมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ๓. ปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กอายุ ๐-๕ ปีลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 พ.ค. 2562 14:47 น.