กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว


“ เฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 ”

ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
อสม หมู่ที่ 3

ชื่อโครงการ เฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3

ที่อยู่ ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5310-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5310-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,505.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญเป็นภัยเงียบและเป็นโรคที่ไม่ปรากฎอาการและสา่เหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญเช่น ไต หลอดเลือดและเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในแต่ละปีเพิ่มขึ้นสูง และส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศด้วยโรคความดันเบาหวานเป็นโรงเรื้อรังที่จำเป็นต่อการรักษาอย่างต่อเนื่องและยาวนานมีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 3 ผู้ป่วยกลุ่มนี้เข้ามารักษาในโรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้นทุกปี อสม จำดำเนินงานเน้นนโยบายเชิงรุกเพื่อเข้าถึงประชาชนในเขตรับผิดชอบจึงจัดทำโครงการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันเบาหวานความดันกลุ่มเป้าหมาย 15 ปี ขึ้นไปจำนวน 150 คน เพื่อให้ประชาชนได้มีโอกาศคัดกรองความดันเบาหวานเพื่อหากลุ่มเสี่ยงและได้มีความรู้ในการรับประทานอาหารจะได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตัวเองเพื่อได้มีสุขภาพดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนเห็นความสำคัญกับการดูแลสุขภาพของตัวเอง
  2. ผู้ป่วยได้รับการตรวจและรักษาทันท่วงทีและต่อเนื่อง
  3. ประชาชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ อสม
  2. อบรมให้ความรู้ประชาชน
  3. ตรวจน้ำตาลในเลือด DTX

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพของตนเอง จนนำไปสู้การมีสุขภาพดี 2.ประชาชนอายุ 15 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวานความดัน 3.อสม ที่ผ่านการอบรมได้รับความรู้ซึ่งได้นำไปถ่ายทอดให้กับประชาชนได้ 4.ผู้ป่วยได้รับการตรวจและรักษาที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ อสม

วันที่ 16 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน อสม. ร่วมกันสำรวจกลุ่มเป้าหมายอายุ 15 ปีขึ้นไป ประชาสัมพันธ์โครงการอย่างต่อเนื่องให้ประชาชนรับรู้ แจ้งแผนการดำเนินการรณรงค์ ตรวจคัดกรองแก่ อสม. และอบรมให้ความรู้เรื่องการลดและป้องกันความเสี่ยงต่อความดันเบาหวานแก่ อสม.
1. ค่าอาหารว่าง 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท จำนวน 41 คน เป็นเงิน 2,050 บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ มื้อละ 75 บาท จำนวน 41 คน เป็นเงิน 3,075 บาท 3. ค่าอุปกรณ์วัสดุในการอบรม 30 บาท จำนวน 41 คน เป็นเงิน 1,230 บาท 4. ค่าวิทยากร 4 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 300 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม. ที่ผ่านการอบรมได้รับความรู้ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้กับคนอื่นๆได้

 

41 0

2. อบรมให้ความรู้ประชาชน

วันที่ 16 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่ประชาชน เรื่องการลดและป้องกันความเสี่ยงโรคความดันโลหิต และโรคเบาหวาน จำนวน 150 คน 1. ค่าป้ายโครงการ 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท 2. ค่าอุปกรณ์และวัสดุในการอบรม 15 บาท จำนวน 150 คน เป็นเงิน 2,250 บาท 3. ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ 2 ป้าย ป้ายละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท 4. ค่าอาหารว่าง 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท จำนวน 150 คน เป็นเงิน 3,750 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง และให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองจนนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี

 

150 0

3. ตรวจน้ำตาลในเลือด DTX

วันที่ 16 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เตรียมอุปกรณ์และตรวจน้ำตาลในเลือด วัดความดัน ส่วนสูง และตรวจรอบเอว ให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 150 คน 1. ค่าเครื่องวัดความดัน 2 เครื่อง เครื่องละ 2,500 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท 2. ค่าเครื่องชั่งน้ำหนัก 1 เครื่อง เป็นเงิน 1,200 บาท 3. ค่าแอลกอฮอล์  5 ขวด ขวดละ 50 บาท เป็นเงิน 250 บาท 4. ค่าเครื่องเจาะน้ำตาล 1 เครื่อง เป็นเงิน 3,500 บาท 5. ค่าชุดเจาะน้ำตาล 150 ชุด ชุดละ 30 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่า 150 คน ได้รับการตรวจ และได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพ พร้อมทั้งค้นพบผู้ป่วยรายใหม่ที่มีภาวะเสี่ยงส่งต่อ รพ.สต. เพื่อดำเนินการรักษาต่อไป

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนเห็นความสำคัญกับการดูแลสุขภาพของตัวเอง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายตระหนักในการดูแลสุขภาพ
0.00

 

2 ผู้ป่วยได้รับการตรวจและรักษาทันท่วงทีและต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ค้นพบผู้ป่วยรายใหม่ที่มีภาวะเสี่ยงและส่งต่อ รพ.สต.
0.00

 

3 ประชาชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ในเรื่องสุขภาพ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนเห็นความสำคัญกับการดูแลสุขภาพของตัวเอง (2) ผู้ป่วยได้รับการตรวจและรักษาทันท่วงทีและต่อเนื่อง (3) ประชาชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ อสม (2) อบรมให้ความรู้ประชาชน (3) ตรวจน้ำตาลในเลือด DTX

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 3 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5310-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อสม หมู่ที่ 3 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด