กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชุมชนร่วมใจปลอดโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสีตีนุร อาแซ




ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจปลอดโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4123-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจปลอดโรคไข้เลือดออก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจปลอดโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจปลอดโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4123-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ทำหนดไว้ในนโยบายระดับชาติ และเป็นปัญหาสาธารณสุข ซึ่งในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้เป็นความร่วมมือของทุกภาคส่วนในชุมน (ภาครัฐ เอกชน ท้องถิ่น การศึกษา และผู้นำศาสนาในชุมชน) มีส่วนร่วมในการวางแผนการจัดการป้องกันและควบคุมโรคให้เกิดการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน จังหวัดยะลา เป็นจังหวัดที่มีอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออก ปี พ.ศ.2559 พบผู้ป่วยสะสมตลอดทั้งปี จำนวน830 รายคิดเป็นอัตราป่วย 185.80 ต่อแสนประชากร(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา, งานระบาดวิทยาและควบคุมโรค, 2559) ในปีงบประมาณ 2559 สาะารณสุขจังหวัดยะลา จึงได้กำหนดให้มีการณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เผ้าระวังโรคไข้เลือดออกร่วมกันปฏิบัติตามนโยบายประชารัฐ ร่วมใจ ใช้ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค ในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก อำเภอบันนังสตา ซึ่งเป็นอำเภอ 1 ในจังหวัดยะลา มีปัญหาโรคไข้เลือดออกสูง จากข้อมูลย้อนหลัง 10 ปี ในปี พ.ศ.2549 -2558 มีอัตราป่วย16.21, 122.95, 93.52 , 106.89, 359.52, 30.23, 68.48, 89.34, 166.14 และ 178.81 ต่อแสนประชากร และในปี พ.ศ.2559 อัตราป่วย 398.88 ต่อแสนประชากร (สนัำงานสาธารณสุขอำเภอบันนังสตา, งานระบาดวิทยาและควบคุมโรค, 2559) อีกทั้งยังเป็นอำเภอที่ประสบปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกเป็นระยะเวลาหลาย ๆ ปี ติดต่อกันอย่างต่อเนื่อง มีแนวโน้มในการเกิดโรคสูงขึ้นในอนาคต ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา เป็นพื้นที่หนึ่งที่ยังมีปัญหาโรคไข้เลือดออก ของอำเภอบันนังสตาซึ่งจัดเป็นพื้นที่ที่มีผู้ป่วยตลอดทั้งปี สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะบิงติงงี ตำบลตลิ่งชันพบผู้ป่วยทุกๆ ปี อย่างต่อเนื่อง จากข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี ในปี พ.ศ.2554 - 2558 พบผู้ป่วย 1 ราย , 1 ราย, 3 ราย, 7 ราย, 2 ราย ตามลำดับ อัตราป่วย 21.41 , 21.63 , 64.23, 149.86 และ 43.28 ต่อแสนประชากรและในปี พ.ศ.2559 พบผู้ป่วย 5 ราย อัตราป่วย 108.15 ต่อแสนประชากร (สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบันนังสตา, งานระบาดวิทยาและควบคุมโรค, 2559) จึงชี้ให้เห็นว่าแนวโน้มในปี พ.ศ.2560 มีโอกาสเสี่ยงต่อการระบาดของโรคไข้เลือดออก จากปัญหาดังกล่าว การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ได้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและสภาวะสุขภาพอนมัยของประชาชนในชุมชนโดยเฉพาะในเขตพื้นที่รัรบผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านตะบิงติงงี ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ที่มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกทุกปี ดังนั้น จึงจัดโครงการขึ้น เพื่อเป็นการควบคุมยุงลายในชุมชนไม่ให้มีการแพร่ระบาดเกิดขึ้น รวมทั้งการให้ความรู้ในเรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ซึ่งจะทำให้ประชาชนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกับตัวได้อย่างถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. แกนนำชุมชน แกนนำแม่บ้าน ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก ตลอดจนสามารถป้องกันและควบคุมโรคทั้งในชุมชนและในหมู่บ้านได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาลดลง ไม่เกิด 80 ต่อแสนประชากร
    2. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากปีที่ผ่านมาไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 แกนนำชุมชน แกนนำแม่บ้าน ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก ตลอดจนสามารถป้องกันและควบคุมโรคทั้งในชุมชนและในหมู่บ้านได้
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) แกนนำชุมชน แกนนำแม่บ้าน ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก ตลอดจนสามารถป้องกันและควบคุมโรคทั้งในชุมชนและในหมู่บ้านได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนร่วมใจปลอดโรคไข้เลือดออก จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4123-1-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสีตีนุร อาแซ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด