กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชีวีอยู่รอดปลอดจากเหตุซ้ำซ้อน
รหัสโครงการ 62-PKL-02-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครกู้ชีพ
วันที่อนุมัติ 18 เมษายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 27 พฤษภาคม 2562 - 27 พฤษภาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 12 กันยายน 2562
งบประมาณ 17,670.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวัชรพงศ์ เจ๊ะโมง
พี่เลี้ยงโครงการ ีทีมกู้ชีพ รพ.โคกโพธิ์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.62,101.187place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานความปลอดภัยทางถนน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 27 พ.ค. 2562 27 พ.ค. 2562 17,670.00
รวมงบประมาณ 17,670.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 117 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การดูแลรักษาผู้ป่วยบาดเจ็บและเจ็บป่วยฉุกเฉินก่อนการนำส่งไปยังสถานพยาบาลเป็นระยะหนึ่งที่สำคัญ เพราะช่วงก่อนนำส่งโรงพยาบาลเป็น Golden Hour ของการรักษาผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุต่างๆ ที่จะทำให้ผู้ป่วยรอดชีวิตได้มากที่สุดมากกว่าการได้รับการรักษาที่โรงพยาบาล ซึ่งระบบการแพทย์ฉุกเฮินได้แก่ การพัฒนาระบบรับแจ้งเหตุและสั่งการที่มีประสิทธิภาพ การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประชาชน การใช้หมายเลข 1669 ทั้งนี้ประชาชนตำบลปากล่อมีการใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินยังน้อยเนื่องจากการประชาสัมพันธ์ยังไม่ครอบคลุมและขาดความต่อเนื่อง การพัฒนาชุดปฏิบัติการได้มาตรฐานครอบคลุมทุกพื้นที่ ซึ่งจะต้องผ่านการอบรมชุดปฏิบัติการ และมีความรู้ความสามารถ ในเรื่องระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้น ประเมินสภาพผู้ป่วยฉุกเฉินและสถานการณ์ และการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ อีกทั้งในปัจจุบันสภาพเหตุการณ์ไม่สงบในพื้นที่ภาคใต้ยังมีต่อเนื่อง ตลอดจนโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน ที่มิอาจคาดเดาได้ เช่น โรคหัวใจและเหลอดเลือด เส้นเลือดในสมองแตก เป็นต้น ในปีที่ผ่านมาการให้บริการของเครือข่ายให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินของ รพ.สต.ปากล่อ ยังมีการเข้าถึงการเรียกใช้ 1669 ของประชาชนในตำบลปากล่อยังมีน้อย ทำให้ยอดการให้บริการมีแนวโน้มสูงขึ้น แต่ทั้งนี้อาสากู้ชีพมีจำนวนไม่เพียงพอต่อการให้บริการการแพยทย์ฉุกเฉินและผู้ปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินต้องได้รับการฟื้นฟูความรู้และทักษะในการปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อการช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุที่ถูกต้องปลอดภัย     ดังนั้นงานอุบัติเหตุฉุกเฉินอาสาสมัครสาธารณสุขร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ปากล่อ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้ครอบคลุมทั้งการประชาสัมพันธ์ การอบรมให้ความรู้แก่ผู้ให้บริการและประชาชน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อลดอัตราการสูญเสียชีวิต ความพิการและสูญเสียทรัพย์สินที่อาจเกิดขึ้นต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อ่พัฒนาองค์ความรู้ระดับพื้นฐานการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินตามมาตรฐาน

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 17,670.00 1 17,670.00
27 พ.ค. 62 กิจกรรมอบรมให้ความรู้การช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุเบื้องต้น 0 17,670.00 17,670.00

1.วางแผน ประชุมชี้แจงรายละเอียดแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง 2. ติดต่อประสานงานต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง 3.จัดอบรมให้ความรู้การช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุเบื้องต้นก่อนนำส่งโรงพยาบาลพร้อมฝึกปฏิบัติจริง 4.สรุปโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้าร่วมการอบรมสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติและช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 2.ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินตามมาตรฐาน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 พ.ค. 2562 14:52 น.